กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู รหัส กปท. L5313

อำเภอละงู จังหวัดสตูล

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
หนูน้อยปลอดภัยสวมหมวกนิรภัยเสริมสร้างวินัยจราจร ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลละงู
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลละงู
กลุ่มคน
1.นางสาวรัชนีเอ็มเล่งโทร 0872944076
2.นางเกษราภรณ์นิลสกุลโทร 0869620239
3.นางจรรยาเอกดำรงโทร 0801569986
4.นางสาวอุไรวรรณหลีหาด โทร 0844628975
5.นางสาวเจ๊ะหยนปองแท้โทร 0896575274
3.
หลักการและเหตุผล

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลละงู ตั้งอยู่หมู่ที่ 2 ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล มีเขตพื้นที่บริการ คือ หมู่ที่ 1, หมู่ที่ 2, หมู่ที่ 7, หมู่ที่ 14, และหมู่ที่ 18 เด็กในปีการศึกษา 2567 มีจำนวน 120 คน เป็นศูนย์ที่ตั้งอยู่ใกล้หนองน้ำ ติดถนนใหญ่และมีถนนซอยผ่านข้างศูนย์ ซึ่งมีรถวิ่งตลอดเวลา เส้นทางการมารับส่งเด็กส่วนใหญ่เป็นถนนซอยและเส้นทางถนนใหญ่ จากการสังเกตการรับส่งเด็กส่วนใหญ่ผู้ปกครองจะใช้รถจักรยานยนต์ส่วนตัวในการมารับส่งเด็ก และมีส่วนน้อยที่สวมใส่หมวกนิรภัยในการมารับส่งเด็กหรือในการเดินทางไปที่ต่างๆ ด้วยพฤติกรรมนี้ สะท้อนให้เห็นถึงความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ว่าภัยอันตรายรอบตัวนั้นสามารถเกิดขึ้นได้แบบไม่คาดฝัน และเป็นเรื่องที่น่ากังวลที่พ่อแม่และผู้ปกครองหลายๆ คนไม่ตระหนักถึงความสำคัญในการให้บุตรหลานสวมใส่หมวกนิรภัยขณะเดินทางด้วยรถจักรยานยนต์ แล้วก็ยังมีอีกหลายครอบครัวที่แม้จะสวมหมวกนิรภัยให้เด็ก แต่ไม่รู้ว่าจะเลือกใช้หมวกนิรภัยที่มีคุณภาพ มีขนาดพอดีกับศีรษะเด็ก และจะสวมใส่หมวกนิรภัยให้เด็กอย่างถูกวิธีได้อย่างไร และพฤติกรรมการขับขี่ที่ประมาท ขาดความระมัดระวัง ชะล่าใจ ขับขี่ด้วยความเร็ว การฝ่าสัญญาณไฟ การขับขี่ในช่องจราจรที่ไม่ถูกต้อง การเปลี่ยนช่องทางจราจรโดยไม่เปิดสัญญาณไฟ เนื่องจากอาจเข้าใจว่าเป็นพื้นที่ที่การจราจรไม่ได้หนาแน่นเหมือนในเมือง เป็นต้น
ดังนั้น เมื่อเกิดอุบัติเหตุขึ้นอาจส่งผลให้เกิดการบาดเจ็บที่รุนแรงถึงแก่ชีวิต การเสียชีวิตและบาดเจ็บสาหัสส่วนใหญ่มาจาก อาการบาดเจ็บที่ศีรษะ ซึ่งหมวกนิรภัยมีประสิทธิภาพในการลดความเสี่ยงที่จะบาดเจ็บที่ศีรษะ และลดอาการรุนแรงของอาการบาดเจ็บลงได้ การส่งเสริมให้ผู้ขับขี่มีวินัยและสวมหมวกนิรภัยมากขึ้น จึงเป็นวิธีการสำคัญ ในการเพิ่มความปลอดภัยบนท้องถนน และเป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพที่สุดในการลดการเสียชีวิตและการบาดเจ็บที่ศีรษะอันเนื่องมาจากอุบัติเหตุ ผู้ขับขี่รถจักรยานยนต์ที่ไม่สวมหมวกนิรภัยมีความเสี่ยงสูงที่จะได้รับบาดเจ็บที่ศีรษะหรือเสียชีวิตจากการบาดเจ็บประเภทนี้ นอกจากนี้ผู้ขับขี่ที่ไม่สวม หมวกนิรภัยยังเพิ่มภาระให้แก่โรงพยาบาลที่รับตัวเข้ารักษา เป็นภาระแก่บุคคล ครอบครัว (หรือผู้ดูแล) และสังคม หากต้องกลายเป็นคนพิการ ดังนั้น ทางศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลละงู เล็งเห็นความสำคัญของอุบัติเหตุจากพฤติกรรมไม่สวมหมวกนิรภัย ที่อาจจะเกิดขึ้นกับเด็กและผู้ปกครองในศูนย์ ที่สร้างความสูญเสียในเรื่องต่างๆที่กล่าวมาแล้วนั้น จึงได้จัดทำโครงการหนูน้อยปลอดภัยสวมหมวกนิรภัยและเสริมสร้างวินัยจราจรในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลละงูนี้ขึ้นเพื่อเป็นการสร้างความตระหนักในการขับขี่ปลอดภัยสวมหมวกนิรภัย ปลูกฝังวินัยจราจรความปลอดภัยบนท้องถนนให้กับเด็กๆในศูนย์ฯ โดยเน้นให้เด็กๆ เป็นศูนย์กลาง ส่วนครูและผู้ปกครองจะทำหน้าที่เป็นผู้ดูแลและให้ความรู้ที่ถูกต้องอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เด็กๆ ได้เดินทางไปกลับศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้อย่างปลอดภัย และหวังจะลดจำนวนการบาดเจ็บและเสียชีวิตของทุกคนจากอุบัติเหตุทางถน

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. 1.เพื่อส่งเสริมให้เกิดการสวมหมวกนิรภัยให้เด็ก การมีส่วนร่วมของชุมชนในการนำข้อมูลมาจัดการจุดเสี่ยง และลดพฤติกรรมเสี่ยง เพื่อป้องกันอุบัติเหตุทางถนนในชุมชน
    ตัวชี้วัด : - เกิดคณะทำงานที่ขับเคลื่อนโครงการที่มีส่วนร่วมของภาคส่วน - เด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลละงู สวมหมวกนิรภัยเมื่อซ้อนท้ายรถจักยานยนต์มาโรงเรียนครบทุกคน - เกิดมาตรการร่วมในการลดความเสี่ยงการเกิดอุบัติเหตุในพื้นที่
    ขนาดปัญหา 0.00 เป้าหมาย 80.00
  • 2. 2.เพื่อให้เด็กได้ฝึกทักษะเรื่องวินัยจราจร สัญลักษณ์และความปลอดภัยบนท้องถนน
    ตัวชี้วัด : - เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลละงู ได้ฝึกทักษะเรื่องวินัยจราจร สัญลักษณ์และความปลอดภัยบนท้องถนน
    ขนาดปัญหา 0.00 เป้าหมาย 80.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. ประชุมคณะทำงานโครงการ 10 คน จำนวน 3 ครั้ง
    รายละเอียด

    ประชุมคณะทำงานโครงการ 10 คน จำนวน 3 ครั้ง ประกอบด้วย ตัวแทนครูจำนวน 5 คน ตัวแทนผู้ปกครองจำนวน 3 คน ผู้ใหญ่บ้านจำนวน 1 คน โต๊ะอีหม่าม 1 คน
    ครั้งที่ 1 ประชุมชี้แจงทำความเข้าใจโครงการร่วมกัน แบ่งบทบาทหน้าที่ พร้อมวางแผนการดำเนินงานร่วมกัน
    ครั้งที่ 2 ประชุมติดตามการทำงานครั้งที่ 1 และวางแผนในการจัดกิจกรรมถัดไป และร่วมจัดทำแผนที่ทางเดินในเขตพื้นที่ ศพด.อบต.ละงู
    ครั้งที่ 3 ประชุมติดตามการทำงานครั้งที่ 2 และสรุปผลการดำเนินงานโครงการ รายละเอียดค่าใช้จ่าย
    - อาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 10 คนๆละ 25 บาท เป็นเงิน 250 บาท
    - วัสดุอุปกรณ์ เช่น กระดาษ ปากกา ปากกาเคมี กระดาษบรู๊ฟ เป็นต้น เป็นเงิน 200 บาท
    รวมค่าใช้จ่าย 450 บาท x 3 ครั้ง เป็นเงิน 1,350 บาท

    งบประมาณ 1,350.00 บาท
  • 2. สำรวจข้อมูลจำนวนเด็กที่ไม่สวมหมวกนิรภัย ข้อมูลแผนที่ทางเดินในเขตพื้นที่เส้นทางที่เด็กเดินทางมาโรงเรียน ของเด็กนักเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลละงู
    รายละเอียด

    สำรวจข้อมูลจำนวนเด็กที่ไม่สวมหมวกนิรภัย ข้อมูลแผนที่ทางเดินในเขตพื้นที่เส้นทางที่เด็กเดินทางมาโรงเรียน ของเด็กนักเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลละงู นำข้อมูลไปวิเคราะห์เพื่อนำไปสู่การจัดการปัญหาต่อไป
    รายละเอียดค่าใช้จ่าย - สมุดบันทึกข้อมูลจำนวน 120 ชุด x 20 บาท = 2,400 บาท - วัสดุอุปกรณ์ เช่น กระดาษ ปากกา ปากกาเคมี กระดาษบรู๊ฟ เป็นต้น เป็นเงิน 200 บาท

    งบประมาณ 2,600.00 บาท
  • 3. เวทีคืนข้อมูล อบรมให้ความรู้เรื่องอันตรายจากไม่สวมหมวกนิรภัย ร่วมกำหนดข้อตกลงร่วมของชุมชนและผู้ปกครองของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลละงู
    รายละเอียด

    เวทีคืนข้อมูลผลการสำรวจจำนวนเด็กที่ไม่สวมหมวกนิรภัย ข้อมูลแผนที่ทางเดินในเขตพื้นที่เส้นทางที่เด็กเดินทางมาโรงเรียน อบรมให้ความรู้เรื่องอันตรายจากไม่สวมหมวกนิรภัย ร่วมกำหนดข้อตกลงร่วมของชุมชนและผู้ปกครองของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลละงู และติดประกาศข้อตกลงไว้หน้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็กฯ โดยจะมีผู้เข้าร่วม ผู้ปกครองจำนวน 120 คน ผู้ใหญ่บ้าน 5 คน สมาชิก อบต. 5 คน อสม. 5 คน โต๊ะอีม่าม 5 คน ครู 9 คน รวมจำนวน 149 คน
    รายละเอียดค่าใช้จ่าย - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 149 คน x 25 บาท = 3,725 บาท
    - ค่าตอบแทนวิทยากร 600 บาท x 3 ชม. = 1,800 บาท
    - ค่าป้ายไวนิลโครงการขนาด 1.2 เมตร x 2.4 เมตร = 432 บาท
    - ค่าป้ายไวนิลข้อตกลงขนาด 0.8 เมตร x 1 เมตร = 120 บาท
    - ค่าวัสดุอุปกรณ์ ปากกาเคมี กระดาษบรุฟ กระดาษกาวย่น เป็นต้น = 500 บาท
    - ค่าหมวกนิรภัย 120 ใบ x 200 บาท = 24,000 บาท -ป้ายติดประกาศอคลิลิคพร้อมใส่กรอบ ขนาด 60 ซม. X 120 ซม. เป็นเงิน 1,800 บาท

    รวมค่าใช้จ่าย 32,377 บาท

    งบประมาณ 32,377.00 บาท
  • 4. หนูน้อยปลอดภัยด้วยวินัยจราจร (เรียนรู้เรื่องวินัยจราจร สัญลักษณ์และความปลอดภัยบนท้องถนน)
    รายละเอียด

    จัดกิจกรรมสำหรับเด็ก สัปดาห์ละ 2 ครั้ง ณ ลานกีฬาหน้าอาคารเรียน เรียนรู้เรื่องวินัยจราจร สัญลักษณ์และความปลอดภัยบนท้องถนน
    รายละเอียดค่าใช้จ่าย
    - กรวยจราจรขนาด 10 นิ้ว จำนวน 12 อันๆละ 100 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท
    - รถจักรยานเด็ก จำนวน 5 คันๆละ 1,500 บาท เป็นเงิน 7,500 บาท
    - ชุดการเรียนป้ายจราจร จำนวน 1 ชุดๆละ 8,000 บาท เป็นเงิน 8,000 บาท
    รวมค่าใช้จ่าย 16,700 บาท

    งบประมาณ 16,700.00 บาท
  • 5. ปรับปรุงจุดเสี่ยงอันตราย
    รายละเอียด

    ปรับปรุงจุดเสี่ยงอันตรายโดยความร่วมมือจากผู้ปกครอง 120 คน ผู้แทนชุมชน 20 คน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (รพสต. 1 คน อบต. 1 คน) ลงมือปรับปรุงจุดเสี่ยงตามแผนที่วางไว้จากข้อมูลผลการสำรวจที่ได้ร่วมกันวิเคราะห์ โดยจะมีการจัดกิจกรรมวันหยุด
    รายละเอียดค่าใช้จ่าย
    - ค่าอาหารกลางวัน 142 คน x 60 บาท = 8,520 บาท
    - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 142 คน x 25 บาท x 2 มื้อ = 7,100 บาท
    - ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการพัฒนาจุดเสี่ยง 5,000 บาท
    รวมค่าใช้จ่าย 20,620 บาท

    งบประมาณ 20,620.00 บาท
  • 6. ติดตามเฝ้าระวังการสวมหมวกนิรภัยที่ได้มาตรฐานขณะเดินทางด้วยรถจักยานยนต์
    รายละเอียด

    ติดตามเฝ้าระวังการสวมหมวกนิรภัยที่ได้มาตรฐานขณะเดินทางด้วยรถจักยานยนต์ของเด็กนักเรียนทุกวันทำการ
    รายละเอียดค่าใช้จ่าย - ราวเหล็กแขวนหมวกนิรภัยมีล้อ 2 ชั้น ขนาด 50 ซม.x 3 ม.x 120 ซม. จำนวน 2 อันๆละ 4,000 บาท เป็นเงิน 8,000 บาท รวมค่าใช้จ่าย 8,000 บาท

    งบประมาณ 8,000.00 บาท
  • 7. รายงานผลการติดตามเฝ้าระวังการสวมหมวกนิรภัยที่ได้มาตรฐานขณะเดินทางด้วยรถจักยานยนต์ของเด็กนักเรียน
    รายละเอียด

    แลกเปลี่ยนเรียนรู้ถอดบทเรียนการดำเนินงานโครงการเพื่อต่อยอดการดำเนินงานและส่งต่อข้อมูลให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการต่อไป มีผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 39 คน ประกอบด้วย ครู 9 คน ผู้แทนผู้ปกครอง 10 คน ท้องที่ 5 คน ท้องถิ่น 5 คน อสม. 5 คน โต๊ะอีหม่าม 5 คน รายละเอียดค่าใช้จ่าย
    - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 39 คน x 25 บาท = ุ975 บาท
    - ค่าตอบแทนวิทยากร 3 ชม.x 600 บาท = 1,800 บาท
    รวมค่าใช้จ่าย 2,775 บาท

    งบประมาณ 2,775.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 กรกฎาคม 2567 ถึง 30 ธันวาคม 2567

8.
สถานที่ดำเนินการ

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลละงู

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 84,422.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  1. เกิดการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการจุดเสี่ยงและลดพฤติกรรมเสี่ยง เพื่อป้องกันอุบัติเหตุทางถนนในชุมชน
  2. เด็กได้รับการฝึกทักษะเรื่องวินัยจราจร เรียนรู้สัญลักษณ์และความปลอดภัยบนท้องถนน และการปฏิบัติตามกฎจราจรในอนาคต
  3. ผู้ปกครอง เด็ก และครูสวมหมวกนิรภัย 100 % ขณะขับขี่รถจักยานยนต์ เพื่อลดความรุนแรงของการเกิดอุบัติเหตุ
11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู รหัส กปท. L5313

อำเภอละงู จังหวัดสตูล

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู รหัส กปท. L5313

อำเภอละงู จังหวัดสตูล

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 84,422.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................