กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

รหัส กปท.

อำเภอ จังหวัด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการร่วมมือร่วมใจชวนกันไป Big cleaning ตำบลปิยามุมังปลอดโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2567
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลปิยามุมัง
3.
หลักการและเหตุผล

โรคไข้เลือดออก เป็นโรคติดต่อที่มียุงลายเป็นพาหะนำโรค ยุงลายจะได้รับเชื้อไวรัสจากผู้ที่ป่วยเป็นโรคไข้เลือดออกและแพร่ไปสู่คนอื่นๆได้ โดยเฉพาะเด็กที่ได้รับเชื้อจะทำให้เด็กเสี่ยงต่อการเสียชีวิตสูงมากและผู้ป่วยส่วนใหญ่เป็นเด็กที่มีอายุต่ำกว่า 15 ปี ซึ่งจะพบการระบาดในช่วงฤดูฝน หรือช่วงเดือนพฤษภาคม ถึงเดือนกันยายน ในแต่ละปีมีผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกเป็นจำนวนมาก ยุงลาย ซึ่งเป็นพาหะนำโรคจะออกหากินในตอนกลางวันและมักหลบซ่อนตัวในที่มืด อาศัยและวางไข่ไปทั่วในชุมชน แหล่งเพาะพันธ์ของยุงลายจะอยู่ตามโอ่งน้ำ ภาชนะกักเก็บน้ำในห้องน้ำ จานรองกระถางต้นไม้ ยางรถยนต์เก่า กระป๋อง กะลา เป็นต้น ดังนั้นหากทุกพื้นที่ไม่มีการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคอย่างมีประสิทธิภาพแล้ว การระบาดของโรคจะทวีความรุนแรงมากขึ้น จากข้อมูลสถานการณ์การระบาดของโรคไข้เลือดออก ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 30 ธันวาคม 2566 พบผู้ป่วยสะสม จำนวน 153,734 ราย (รายงานเพิ่มขึ้น 2,926 ราย) อัตราป่วย 232.47 ต่อประชากรแสนคน ผู้ป่วยสูงกว่าปีที่ผ่านมา 3.4 เท่า จังหวัดที่มีอัตราป่วยสูงในช่วง 4 สัปดาห์ที่ผ่านมา 5 อันดับแรก คือ จังหวัดตราด, จังหวัดระยอง, จังหวัดน่าน, จังหวัดจันทบุรี และจังหวัดเชียงราย ตามลำดับ ผู้ป่วยเสียชีวิตยืนยัน 168 ราย อัตราป่วยตาย ร้อยละ 0.11 โดยอัตราป่วยตายสูงสุดในกลุ่มอายุ 25 - 34 ปีปัจจัยเสี่ยงส่วนใหญ่ ไปรักษาช้า มีโรคประจำตัว และติดสุรา ตามลำดับ ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการในผู้เสียชีวิตพบไวรัสเดงกีทั้ง 4 สายพันธุ์โดยพบ DENV-2 มากที่สุดรองลงมาคือ DENV-1 DENV-3 และ DENV-4 ตามลำดับ จังหวัดปัตตานี เมื่อวันที่ ๓ กรกฎาคม ๒๕๖๖ ที่ห้องประชุมสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดปัตตานี ว่าที่ร้อยตรี ตระกูล โทธรรม รองผู้ว่าราชการจังหวัดปัตตานี เป็นประธานประชุมคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดปัตตานี เพื่อติดตามสถานการณ์โรคติดต่อที่สำคัญ ในพื้นที่จังหวัดปัตตานี ประกอบด้วย โรคไข้เลือดออก โรคโควิด-19 โรคเรื้อน และวัณโรคปอด เป็นต้น โดยสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดปัตตานี สรุปว่าโรคไข้เลือดออก ซึ่งเป็นโรคติดต่อที่มียุงลาย (ยุงลายบ้าน ยุงลายสวน) เป็นพาหะ ขณะนี้ โรคไข้เลือดออกในประเทศ ยังคงมีแนวโน้มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่ปลายปี ๒๕๖๕ เป็นต้นมา และในปี ๒๕๖๖ ข้อมูล ณ วันที่ ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๖๖ มีรายงานผู้ป่วยของประเทศ สะสม ๑๘,๑๗๓ ราย คิดเป็นอัตราป่วย ๒๗.๔๖ ต่อแสนประซากร จำนวนผู้ป่วยสูงกว่าปีที่ผ่านในช่วงเวลาเดียวกันถึง ๔.๒ เท่า เสียชีวิต ๑๖ ราย โดยคาดว่าโรคไข้เลือดออกจะระบาดรุนแรงในปีนี้ สำหรับในพื้นที่เขตสุขภาพที่ ๑๒ พบผู้ป่วยสะสม ๒,๘๘๔ ราย เสียชีวิต ๔ ราย มีจังหวัดเข้าเกณฑ์เปิดศูนย์ปฏิบัติการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน (EOC) ระดับจังหวัด ได้แก่ สงขลา สตูล และนราธิวาส สำหรับสถานการณ์จังหวัดปัตตานี มีรายงานผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก ตั้งแต่วันที่ ๑ มกราคม ถึงวันที่ ๓ มิถุนายน ๒๕๖๖ สะสมรวม ๔๓๐ ราย คิดเป็นอัตราป่วย ๗๓.๕๗ ต่อแสนประชากร ไม่มีผู้ป่วยเสียชีวิต สำหรับข้อมูลตำบลปิยามุมัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี พบผู้ป่วยไข้เลือดออกย้อนหลัง 5 ปี ทั้งหมดจำนวน 57 ราย โดยปี 2563 พบผู้ป่วย 9 ราย ปี 2564 พบผู้ป่วย 10 ราย ปี 2565 พบผู้ป่วย 9 ราย ปี 2566 พบผู้ป่วย 12 ราย และปี 2567 พบผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกจำนวน 17 ราย ไม่มีรายงานผู้เสียชีวิต จากสถิติการระบาดและจากการสำรวจดัชนีความชุกของลูกน้ำยุงลายยังพบว่ามีความชุกของลูกน้ำในเกณฑ์ที่สูง ซึ่งหมายความว่า ตำบลปิยามุมังเป็นตำบลที่มีแนวโน้มที่จะเกิดการระบาดของโรคไข้เลือดออกสูง ดังนั้นเพื่อการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออกอย่างมีประสิทธิภาพ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านตำบลปิยามุมัง จึงได้จัดโครงการร่วมมือร่วมใจชวนกันไป Big cleaning ตำบลปิยามุมังปลอดโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2567 ขึ้น โดยเน้นประชาชนในชุมชน เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ รวมทั้งเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชนต่อไป

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. กิจกรรมที่ 1 จัดประชุม war room ไข้เลือดออกแก่ทีม SRRT ปิยามุมัง กลุ่มเป้าหมาย 47 คน
    รายละเอียด
    1. ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทีม SRRT ตำบลปิยามุมัง และทีมเครือข่ายสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน เพื่อกำหนดแนวทางการดำเนินการโครงการ
    2. ดำเนินการจัดประชุม war room ไข้เลือดออก เพื่อนำเสนอและวิเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์โรค ไข้เลือดออกตำบลปิยามุมัง แก่ทีมเครือข่ายสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน และทีมSRRT

    - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ในการประชุมคณะทำงานทีม SRRT    จำนวน 47 คน × 25 บาท x 1 มื้อ    เป็นเงิน 1,175.- บาท

    งบประมาณ 1,175.00 บาท
  • 2. กิจกรรม ๒ เฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
    รายละเอียด
    1. มอบสเปรย์กำจัดยุงให้ผู้ป่วยไข้เลือดออกฉีดบริเวณที่อยู่อาศัยในระยะการระบาดของโรค เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก

    - ค่าสเปรย์กำจัดยุงไบกอนเขียวขนาด 300 มล.  จำนวน 60 กระป๋องๆละ 79 บาท                    เป็นเงิน 4,740.- บาท

    งบประมาณ 4,740.00 บาท
  • 3. กิจกรรมที่ ๓ Big cleaning รณรงค์สำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายโดยเครือข่ายสุขภาพตำบลปิยามุมัง จำนวน 60 คน (๓๙+21= 6๐ คน) โดยเลือกพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดการระบาดมากที่สุด
    รายละเอียด
    1. รณรงค์สำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย โดยวิธีทางกายภาพ ชีวภาพ และสารเคมี กำจัดลูกน้ำยุงลาย โดยเลือกพื้นเสี่ยงเกิดการระบาดของโรคไข้เลือดออก ของแต่ละหมู่
    2. จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์โรคไข้เลือดออก ให้ความรู้แก่นักเรียน ประชาชน ตลอดจนผู้มารับบริการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปิยามุมัง

    - ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน 60 คน x 25 บาท x 1 มื้อ x 2 ครั้ง เป็นเงิน 3,000.- บาท
    - ค่าถ่ายเอกสารแบบสำรวจลูกน้ำยุงลายจำนวน 1,000 แผ่น เป็นเงิน500.- บาท
    - ค่าถ่ายเอกสารแผ่นพับโรคไข้เลือดออกจำนวน 500 แผ่น เป็นเงิน500.- บาท
    - ค่าป้ายรณรงค์โครงการขนาด 1x2 เมตร = 2 ตารางเมตร(ตารางเมตรละ 250 บาท) จำนวน 2 ผืนๆละ 500 บาท เป็นเงิน 1,000.- บาท

    งบประมาณ 5,000.00 บาท
  • 4. กิจกรรมที่ 4 ถอดบทเรียนและสรุปผลการดำเนินงาน
    รายละเอียด
    1. สุ่มตรวจหาดัชนีลูกน้ำยุงลาย (HI/CI) โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ร่วมกับ ทีมเครือข่ายสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.)
    2. ประเมินผลการดำเนินงานและสรุปผลการดำเนินงานตามแผนโครงการ ส่งให้กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลปิยามุมัง

    - อาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 47 คนX 25บาท X 1 มื้อ    เป็นเงิน  1,175.- บาท

    งบประมาณ 1,175.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 3 มิถุนายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567

8.
สถานที่ดำเนินการ

ตำบลปิยามุมัง

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 12,090.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  1. อัตราป่วยด้วยไข้เลือดออกในชุมชนลดลงเมื่อเปรียบเทียบย้อนหลัง 5 ปี
  2. บ้านและโรงเรียนมีค่า HI< 10 และ CI = 0
  3. ประชาชนทุกกลุ่มอายุ ตระหนักและเห็นความสำคัญของการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก ด้านการควบคุมพาหะ ด้านสิ่งแวดล้อม และการป้องกันโรค
11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

รหัส กปท.

อำเภอ จังหวัด

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567
เรียน ประธานกรรมการ
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

รหัส กปท.

อำเภอ จังหวัด

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 12,090.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................