กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโพธิ์

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

ส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 2-6 ปี ให้มีพัฒนาการสมวัย

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโพธิ์

กองการศึกษา อบต.ควนโพธิ์

นางซีตีฮาหยาด ศรียาน

ศพด. บ้านใหม่ และ ศพด ห้วยลึก

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของเด็กเล็ก (2-6ปี) ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ

 

11.00
2 ร้อยละของเด็กเล็ก (0-6ปี) ที่ประเมินแล้วมีภาวะพัฒนาการล่าช้า

 

11.00
3 ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี ที่มีภาวะผอม

 

11.00

เด็กปฐมวัยนับเป็นช่วงที่สำหรับพัฒนาการของชีวิตประสบการณ์และการเรียนรู้ที่เด็กได้รับในช่วง 6 ปี แรกของชีวิตมีผลต่อการวางรากฐานที่สำคัญในการส่งเสริมพัฒนาการของเด็กปฐมวัยดังนั้นการจัดกระบวนการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา วิธีการและรูปแบบที่เหมาะสมจึงมีความสำคัญยิ่ง การจัดการศึกษาปฐมวัยมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องได้รับความร่วมมือจากผู้ปกครอง พ่อ แม่ และผู้ใกล้ชิดเด็ก เป็นผู้ช่วยเหลือให้เด็กมีพัฒนาการและเตรียมความพร้อมอย่างเหมาะสม เนื่องจาก ช่วงวัยในบางช่วงเด็กยังต้องอยู่ในการดูแลของผู้ปกครองเป็นส่วนมาก โดยเฉพาะในช่วง 0-4 ปีแรกของชีวิต และช่วงเวลาดังกล่าวเป็นช่วงที่สมอง และพัฒนาการพื้นฐานด้านร่างกายต้องได้รับการเตรียมความพร้อมอย่างถูกต้องและครบถ้วนในการให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง ครู จึงเป็นเรื่องสำคัญ จากการประเมินพัฒนาการเด็ก 2- 6 ปี ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ตำบลควนโพธิ์ จำนวน 2 แห่ง พบว่าปัญหาของการพัฒนาการช้า ในเด็ก ซึ่งมีอยู่จำนวน11 คน จากจำนวนเด็กทั้งหมด คน คิดเป็นร้อยละ และยังพบเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ อีกจำนวน11คน คิดเป็นร้อยละของจำนวนเด็กกทั้งมด จากปัญหาดังกล่าว หากมีการละเลย เด็กเหล่านี้อาจจะมีผลกระทบต่อการเจริญเติบโตของเด็กได้ในอนาคต ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ตำบลควนโพธิ์ จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพ เด็ก 2- 6 ปี เพื่อขอสนับสนุนงบประมาณดำเนินงานจาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลควนโพธิ์ ต่อไป

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดภาวะพัฒนาการล่าช้าเด็กเล็ก (0-6 ปี) ลง

ร้อยละของเด็กเล็ก (0-6 ปี) ที่ประเมินแล้วมีภาวะพัฒนาการล่าช้า

11.00 11.00
2 เพื่อลดภาวะผอม ในเด็กอายุ 0-5 ปี

ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี ที่มีภาวะผอม

11.00 11.00
3 เพื่อลดภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการของเด็กเล็ก (0-3 ปี) ลง

ร้อยละของเด็กเล็ก (2-6 ปี) ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ

11.00 11.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 11
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/07/2024

กำหนดเสร็จ 31/12/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุมชี้แจงครูและผู้ปกครองเด็กที่มีพัฒนาการช้า และ เด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ จำนวน 20 คน

ชื่อกิจกรรม
ประชุมชี้แจงครูและผู้ปกครองเด็กที่มีพัฒนาการช้า และ เด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ จำนวน 20 คน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จัดประชุมครูและผู้ปกครองของเด็กที่มีพัฒนาการช้า และมีภาวะทุพโภชนาการ จำนวน 20 คน
งบประมาณ
1.งบประมาณค่าอาหารกลางวัน 20X120X 1 มื้อจำนวน 2,400 บาท 2.ค่าอาหารว่าง 20X 30X 2 มื้อ เป็นเงิน 1,200 บาท
3.ค่าวิทยากรจำนวน 3 ชม. ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 1,800 ืบาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กรกฎาคม 2567 ถึง 9 สิงหาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ร้อยละของครูและผู้ปกครองมีความรู้เรื่องพัฒนาการเด็ก

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
5400.00

กิจกรรมที่ 2 ประเมินความผิดปกติของเด็ก 2- 6 ปี ในศูนย์เด็กเล็ก ตามแบบประเมินมาตรฐาน

ชื่อกิจกรรม
ประเมินความผิดปกติของเด็ก 2- 6 ปี ในศูนย์เด็กเล็ก ตามแบบประเมินมาตรฐาน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ครูทำการประเมินร่วมกับผู้ปกครองเพื่อหาข้อมูลเบื้องต้นของเด็กที่มี ภาวะทุพโภชนาการ 11 คน
2.ค่าทำแบบประเมินและวิเคราะห์ข้อมูล คนละ 100 บาท จำนวน 1,100 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
8 กรกฎาคม 2567 ถึง 16 สิงหาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากการสำรวจเด็กจำนวน 11 คน แผนการแก้ปัญหา

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1100.00

กิจกรรมที่ 3 จัดทำแผนการแก้ปัญหาภาวะทุกโภชนาการ ในเด็ก จำนวน 11 คน สนับสนุน คนละ100 บาท

ชื่อกิจกรรม
จัดทำแผนการแก้ปัญหาภาวะทุกโภชนาการ ในเด็ก จำนวน 11 คน สนับสนุน คนละ100 บาท
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จัดทำแผนกากรแก้ปัญหารายบุคคล จำนวน 11 คน
งบประมาณ 1.ค่าตอบแทนการจัดทำแผนการรักษา จำนวน 100 บาท ต่อคน รวม 1,100 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
15 กรกฎาคม 2567 ถึง 30 สิงหาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

จำนวนแผนการแก้ปัญหาภาวะโภชนาการ ของนักเรีนยนที่มรีภาวะโภชนาการต่ำ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1100.00

กิจกรรมที่ 4 จัดซื้ออาหารพิเศษสำหรับเด็ก ที่มีภาวะพัฒนาการช้า เพื่อแก้ปัญหา ภาวะโภชนาการต่ำ

ชื่อกิจกรรม
จัดซื้ออาหารพิเศษสำหรับเด็ก ที่มีภาวะพัฒนาการช้า เพื่อแก้ปัญหา ภาวะโภชนาการต่ำ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

บริการแก้ปัญหาเด็กที่มีภาวะโภชนาการ ต่ำจำนวน 11 คน
งบประมาณ
1.ค่าอาหารกลางวันแบบเฉพาะ สำหรับเด็กที่มีภาวะทุกโภชนาการจำนวน 11 คนเป็นเวลา 62 วัน

ระยะเวลาดำเนินงาน
22 กรกฎาคม 2567 ถึง 31 ตุลาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

จำนวนเด็กมีภาวะโภชนาการดีขึ้น

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
23100.00

กิจกรรมที่ 5 ประชุมสรุปผลการดูแลเด็กที่มีภาวะโภชนาการต่ำ

ชื่อกิจกรรม
ประชุมสรุปผลการดูแลเด็กที่มีภาวะโภชนาการต่ำ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จัดประชุม ครูและผู้ปกครอง จำนวน 20 คน 1.อาหารกลางวัน20 คน X 120 บาท X 1 มื้อ เป็นเงิน 2,400 บาท
2.ค่าอาหารว่าง20 คน x 30บาทเป็นเงิน 600 บาท 3. ่ค่าวิทยากรที่ปรึกษา 3 ชม ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิย 1,800 บาท
รวม 4,800 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กรกฎาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เด็กที่มีภาวะโภชนาการต่ำ ดีขึ้น ร้อยละ 70

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
4800.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 35,500.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.รูปแบบของการดูแลและแก้ปัญหาเด็กที่มีภาวะโภชนาการต้ำของตำบลควนโพธิ์
2.เด็กที่มีปัญหาภาวะโภชนาการต่ำลดลง


>