2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
3. สถานการณ์
การรณรงค์ให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่มีอายุ 35 ปี ขึ้นไป มีการตรวจสุขภาพเบื้องต้นด้วยการวัดความดันโลหิต การเจาะตรวจระดับน้ำตาลในเลือด เป็นกลวิธีที่สำคัญในการสร้างกระแสการรับรู้ให้มีความตื่นตัว เห็นความสำคัญ และเกิดความตระหนักในการตรวจสุขภาพเบื้องต้นด้วยวัดความดันโลหิตอย่างสม่ำเสมอ ทั้งนี้โดยการมีส่วนร่วมในการดำเนินการรณรงค์จากเครือข่ายสุขภาพทุกภาคส่วน โดยเฉพาะ อสม. ที่มีอยู่กว่าแปดแสนคนทั่วประเทศดำเนินการให้บริการตรวจสุขภาพเบื้องต้นด้วยการวัดความดันโลหิตและเจาะตรวจระดับน้ำตาลในเลือดแก่ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย เป็นการเฝ้าระวังและดูแลผู้ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังค้นหากลุ่มเสี่ยง และคัดกรองผู้ป่วยในชุมชน คัดกรองโดยแกนนำ อสม. เพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยงส่งต่อเพื่อรับการรักษาและให้คำแนะนำการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคจากความสำคัญดังกล่าวเพื่อให้ประชาชนได้รับการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ และสร้างเสริมสุขภาพตลอดจนการให้ข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพที่จำเป็นและสอดคล้องกับปัญหาของโรคในชุมชน จึงได้จัดทำโครงการแก้ไขปัญหาโรคเรื้อรังในหมู่บ้าน หมู่ที่ 6 บ้านคลองขุด
ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด
- บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
- ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
5. กลุ่มเป้าหมาย
6. ระยะเวลาดำเนินงาน
วันเริ่มต้น 01/03/2024
กำหนดเสร็จ 30/09/2024
7. วิธีการดำเนินงาน
- กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
- งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด
หมายเหตุ :
8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง
ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?1.สามารถแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
2.สามารถแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
3.สามารถแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง