กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลห้วยกรด รหัส กปท. L9299

อำเภอสรรคบุรี จังหวัดชัยนาท

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
วัยรุ่นรู้รัก รู้ปลอดภัย ห่างไกลโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และป้องกันตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร ปีงบประมาณ 2567
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
นายนพรัตน์ หัตถี และคณะ
กลุ่มคน
นายนพรัตน์หัตถี และคณะ
3.
หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันผลกระทบของกระแสโลกาภิวัตน์ ทำให้ประเทศไทยประสบปัญหาทางสังคมมากมายโดยเฉพาะปัญหาที่เกิดกับเด็กและเยาวชน ปัจจุบันพบว่า เยาวชนมีเพศสัมพันธ์ตั้งแต่อายุยังน้อย คือ ประมาณ ๑๒ ปี ซึ่งเด็กในวัยนี้ยังขาดวุฒิภาวะและขาดความรับผิดชอบตัวเอง ดังนั้น จึงมีความเสี่ยงในด้านต่าง ๆ เช่น โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เสี่ยงต่อการตั้งครรภ์ที่ไม่พร้อม การทำแท้ง ความไม่พร้อมในการเลี้ยงดูลูก จากข้อมูลสรุปผลการดำเนินงานสาธารณสุขประจำปี ๒๕63 ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านแสงสว่าง พบว่า มีอัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปี เท่ากับ......................โดยตั้งครรภ์ อายุน้อยสุด....... ปี นับเป็นปัญหาสาธารณสุขสำคัญ ที่จำเป็นต้องได้รับการแก้ไขและควรสร้างแนวทางมาตรการเพื่อเฝ้าระวังการเกิดปัญหาซ้ำ ประชากรตำบลห้วยกรด ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก ได้แก่ ทำนา ทำไร่ ทำสวนผักผลไม้ เป็นต้น ซึ่งมีการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชกันอย่างมากในทุกพื้นที่ทางด้านการเกษตร และในปี 2566
สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา นวมินทราชินี จังหวัดชัยนาท ได้คัดกรองสารเคมีตกค้างของเกษตรกรตำบลตำบลห้วยกรด โดยดำเนินการตรวจสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดของประชาชนทั้ง 9 หมู่บ้าน จำนวน 148 คน พบระดับปกติ ร้อยละ 3.38 ระดับปลอดภัย ร้อยละ 75.68ระดับมีความเสี่ยง ร้อยละ 19.59 ระดับไม่ปลอดภัย ร้อยละ 1.35 ซึ่งจากผลการตรวจพบประชาชนในพื้นที่ มีสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดอยู่เป็นจำนวนมาก และเป็นการสุ่มสำรวจประชาชนเพียงบางกลุ่มเท่านั้น จึงจำเป็นที่จะต้องตรวจค้นหาผู้ที่มีสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดให้มีความครอบคลุมมากยิ่งขึ้น และการส่งเสริมความรู้การใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช ตลอดจนการป้องกันการได้รับสารเคมีที่จะเข้าสู่ร่างกายด้วยช่องทางต่างๆ เพื่อสร้างความตระหนักในการเฝ้าระวังการใช้ และการสัมผัสสารเคมีทางเกษตรต่างๆ
จากข้อมูลดังกล่าว สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรา นวมินทราชินี จังหวัดชัยนาท จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังสารเคมีตกค้างของเกษตรกร ปีงบประมาณ 2567 ขึ้น เพื่อให้ประชาชนและเกษตรกรกลุ่มเสี่ยงในตำบลห้วยกรด ได้รับทราบข้อมูลความเสี่ยงของตนเองจากการตรวจเลือดหาปริมาณสารเคมีตกค้างในกระแสเลือด และรับความรู้ในการป้องกันสารเคมีตกค้างในชีวิตประจำวันต่อไป

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. ขั้นเตรียม
    รายละเอียด

    ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ชุมชน สถานีอนามัย และอื่น ๆ ร่วมกันวางแผนดำเนินการ สำรวจข้อมูลเกษตรกร จัดทำทะเบียนเกษตรกรและประเมินความเสี่ยงเกษตรกรจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชเบื้องต้น ประชาสัมพันธ์ให้กลุ่มเกษตรกรทราบเพื่อเตรียมกลุ่มเป้าหมาย และนัดหมายการตรวจ

    งบประมาณ 0.00 บาท
  • 2. ขั้นดำเนินการ
    รายละเอียด

    จัดเตรียมเครื่องมือ อุปกรณ์ในการตรวจคัดกรองสารเคมีตกค้างในกระแสเลือด และจัดเตรียมเอกสารเผยแพร่ความรู้เรื่องการจัดการสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดจากสมุนไพร ดำเนินการตรวจคัดกรองสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดครั้งที่ 1 และให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมายตามตารางการให้ความรู้ โดยมีกิจกรรมที่ดำเนินการ ดังนี้
    5.1 ตอบคำถามการปฏิบัติตัวเกี่ยวกับการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชทั้งในส่วนของการทำการเกษตร และการใช้ในชีวิตประจำวัน
    5.2 ตรวจคัดกรองสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดร่วมกับทีมงาน อสม.แต่ละหมู่บ้าน
    - เจาะเลือดกลุ่มเป้าหมาย
    - ตรวจหาระดับสารเคมีตกค้างในเลือก
    - อ่านและแปรผลการตรวจเลือด 
    5.3 ให้ความรู้แก่ประชากรกลุ่มเป้าหมายในวันตรวจเลือดในหัวข้อเรื่องดังต่อไปนี้
    - อันตรายของสารเคมีตกค้างในกระแสเลือด
    - วิธีการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องในการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชในการเกษตร
    - วิธีการป้องกันตนเองจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืชในชีวิตประจำวัน
    - การใช้สมุนไพรในการกำจัดพิษในร่างกายเบื้องต้น งบประมาณ
    1. ค่าใช้จ่ายในการจัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์การตรวจสารเคมีตกค้างในกระแสเลือด จำนวน 300 คนเป็นเงิน 3,796 บาท รายละเอียด ดังนี้ - กระดาษทดสอบหาปริมาณโคลีนเอสเตอเรส จำนวน 3 ชุดๆละ 100 ตัวอย่าง  ราคาชุดละ 642 บาท เป็นเงิน 1,926 บาท - เข็มเจาะเลือดปลายนิ้ว จำนวน 3 กล่องละๆ 100 ชิ้น ราคากล่องละ 285 บาท เป็นเงิน    855 บาท - หลอดคาปิลลารี่ (Capillary tube) เก็บตัวอย่างเลือด จำนวน 3 กล่องๆละ 100 ชิ้น  ราคากล่องละ 85 บาท เป็นเงิน    255 บาท - ถุงมือชนิดใช้ครั้งเดียวทิ้ง จำนวน 3 กล่องๆละ 120 บาท เป็นเงิน    360 บาท - แอลกอฮอล์ 70% ขนาด 450 มล. จำนวน  2 ขวดๆละ 50 บาท เป็นเงิน    100 บาท - สำลีก้อนเล็ก 450 G. จำนวน 2 ถุงๆละ 150 บาท เป็นเงิน    300 บาท - แผ่นสไลด์สำหรับวางแผ่นกระดาษทดสอบ จำนวน 1 กล่องๆละ 50 บาท เป็นเงิน    50 บาท 2. ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม 1 มื้อ จำนวน 300 คนๆละ 25 บาท เป็นเงิน 7,500 บาท 3. ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 2 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท 4. ค่าจัดทำเอกสารความรู้การปฏิบัติตัวในการป้องกันสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดและการจัดการสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดจากสมุนไพรด้วยตนเอง จำนวน 300 แผ่นๆละ 5 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท 5. ค่าป้ายโครงการขนาด 1.20 x 2.40 เมตร 1 ป้ายๆ ละ 450 บาท เป็นเงิน   450 บาท กิจกรรมที่ 2 ติดตามผลการปฏิบัติตัวในการใช้สมุนไพรล้างพิษตกค้างในกระแสเลือด โดยการตรวจคัดกรองสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดครั้งที่ 2 (กลุ่มมีความเสี่ยง และกลุ่มไม่ปลอดภัย) โดยใช้ระยะเวลา 3 เดือน 1. ค่าใช้จ่ายในการจัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์การตรวจสารเคมีตกค้างในกระแสเลือด จำนวน 300 คน  เป็นเงิน 2,464 บาท รายละเอียด ดังนี้ - กระดาษทดสอบหาปริมาณโคลีนเอสเตอเรส จำนวน 2 ชุดๆละ 100 ตัวอย่าง  ราคาชุดละ 642 บาท เป็นเงิน 1,284 บาท - เข็มเจาะเลือดปลายนิ้ว จำนวน 2 กล่องละๆ 100 ชิ้น ราคากล่องละ 285 บาท เป็นเงิน   570 บาท - หลอดคาปิลลารี่ (Capillary tube) เก็บตัวอย่างเลือด จำนวน 2 กล่องละ100 ชิ้น  ราคากล่องละ 85 บาท เป็นเงิน   170 บาท - ถุงมือชนิดใช้ครั้งเดียวทิ้ง จำนวน 2 กล่องๆละ 120 บาท เป็นเงิน   240 บาท - แอลกอฮอล์ 70% ขนาด 450 มล. จำนวน  1 ขวดๆละ 50 บาท เป็นเงิน      50 บาท - สำลีก้อนเล็ก 450 G. จำนวน 1 ถุงๆละ 150 บาท เป็นเงิน   150 บาท รวมทั้งสองกิจกรรมเป็นเงินทั้งสิ้น        16,910 บาท

    งบประมาณ 16,910.00 บาท
  • 3. สรุป
    รายละเอียด

    -รายงานผลการคัดกรองครั้งที่ 1 ให้กับกลุ่มเป้าหมายได้รับทราบ แจกเอกสารความรู้การปฏิบัติตัวในการป้องกันสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดและการจัดการสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดจากสมุนไพรด้วยตนเอง พร้อมนัดหมายตรวจคัดกรองสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดครั้งที่ 2 ในกลุ่มเป้าหมายที่มีผลการตรวจอยู่ในกลุ่มมีความเสี่ยง และกลุ่มไม่ปลอดภัย
    - ติดตามผลการปฏิบัติตัวในการใช้สมุนไพรล้างพิษตกค้างในกระแสเลือด โดยการตรวจสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดครั้งที่ 2 (กลุ่มมีความเสี่ยง และกลุ่มไม่ปลอดภัย) โดยใช้ระยะเวลา 3 เดือน - สรุปผลการดำเนินงาน รายงานผลการคัดกรองให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องรับทราบถึงสถานการณ์

    งบประมาณ 0.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 มีนาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567

8.
สถานที่ดำเนินการ

สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา นวมินทราชินี จังหวัดชัยนาท ตำบลห้วยกรดอำเภอสรรคบุรี จังหวัดชัยนาท

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 16,910.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  1. ทราบถึงสถานการณ์สารเคมีกำจัดศัตรูพืชตกค้างในกระแสเลือดของเกษตรกรกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่และนำมาวางแผนในการแก้ไขปัญหา
  2. ประชาชนมีความรู้ มีความตระหนักในเรื่องสารเคมีตกค้างในกระแสเลือด
  3. ประชาชนสามารถปฏิบัติตัวในการป้องกันสารเคมีกำจัดศัตรูพืชได้อย่างถูกต้อง
  4. ประชาชนมีความรู้ในการใช้สมุนไพรล้างสารพิษตกค้างในกระแสเลือด และสามารถใช้ได้อย่างถูกต้อง
11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลห้วยกรด รหัส กปท. L9299

อำเภอสรรคบุรี จังหวัดชัยนาท

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลห้วยกรด
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลห้วยกรด รหัส กปท. L9299

อำเภอสรรคบุรี จังหวัดชัยนาท

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 16,910.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................