กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แดงหม้อ รหัส กปท. L6595

อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการ "สูงวัยอย่างมีคุณค่า ชราอย่างมีความสุข"
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
สำนักปลัด องค์การบริหารส่วนตำบลเเดงหม้อ
กลุ่มคน
1.นายสมชาย สายเสมา
2.นางสาวสมพร ทุมวงค์
3.นางนิภาพร นนนารถ
4.นายไชยวัฒน์ บุญอุ้ย
5.นางสาวพัชราพรรณหมื่นสุข
3.
หลักการและเหตุผล

การเพิ่มขึ้นของจำนวนประชากรวัยสูงอายุอย่างรวดเร็วส่งผลถึงความต้องการการดูแลด้านสุขภาพ เพิ่มขึ้นตามเช่นเดียวกัน ในขณะที่ทุกคนต่างคาดหวังว่าจะมีอายุยืนยาวและมีสุขภาพดี แต่ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ มักมีโรคประจำตัวอย่างน้อยคนละ 1 โรคซึ่งเกิดจากการเคลื่อนไหวในชีวิตประจำวันลดลง แต่ขณะเดียวกันมี เวลาอยู่นิ่งเฉย (Sedentary time) เพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับกลุ่มประชากรอายุอื่น การมีกิจกรรมทางกาย ที่ไม่เพียงพอ และการมีพฤติกรรมเนือยนิ่ง ของประชากรมีอัตราเพิ่มขึ้นทั่วโลก และเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับ 4 ของประชากรโลก ในประเทศไทยพบว่า คนไทยมีอัตราการเสียชีวิตจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ร้อยละ 71 ของการเสียชีวิตทั้งหมด การมีกิจกรรมทางกายที่ลดลงร่วมกับการมีพฤติกรรมเนือยนิ่งที่เพิ่มขึ้น เป็นปัจจัยการเกิดโรคไม่ติดต่อ (Non-communicable disease: NCDs) มากมาย ได้แก่ โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคเบาหวาน ภาวะของเมตะบอลิคซินโดรม หรือ “โรคอ้วนลงพุง” ภาวะกระดูกพรุน ภาวะซึมเศร้าและ โรควิตกกังวล เป็นต้นทำให้คนไทย เสี่ยงต่อการเจ็บป่วยจากโรคที่สามารถป้องกันได้ เพราะสาเหตุหรือปัจจัยเสี่ยงหลักนั้นเกิดจากพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมของแต่ละบุคคล
จากหลักการและเหตุผล ดังกล่าวองค์การบริหารส่วนตำบลแดงหม้อได้ตระหนักถึงความสำคัญการมีกิจกรรมทางการที่เพียงพอ ในกลุ่มผู้สูงอายุและผู้ใหญ่เพื่อให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี จึงได้จัดทำโครงการ สูงวัยอย่างมีคุณค่า ชราอย่างมีความสุข ขึ้น

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้สูงอายุ
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปี ขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลาง อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)
    ขนาดปัญหา 63.46 เป้าหมาย 65.46
  • 2. เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)
    ขนาดปัญหา 51.22 เป้าหมาย 55.22
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. ขั้นตอนที่ 1 ชี้เเจ้งรายละเอียดโครงการให้คณะทำงานทราบ
    รายละเอียด

    1.นัดหมายการประชุม คณะทำงาน นำโดย ผู้รับผิดชอบโครงการ ฝ่ายบริหารเเละเจ้าหน้าที่กองศึกษา จำนวน 5 คน,ผู้นำชุมชนจำนวน 6 คน ตัวเเทนชุมชน จำนวน 6 คน เเละรพ.สต.จำนวน 2 คน
    2.ชี้เเจ้งรายละเอียดการจัดทำโครงการ เเละปรึกษาหากำหนดวันที่่จัดกิจกรรม รวมถึงเป้าหมายที่จะเข้าร่วม เป็นผู้สูงอายุในหมู่บ้าน จำนวน 23 คน
    3.เสนอเนื้อหาข้อกิจกรรมให้ผู้คณะทำงานทราบเเละเเสดงความคิดเห็น 3.1 กิจกรรมเป็นลักษณะการบรรยายให้ความรู้-การสาธิตเเละให้ผู้เข้าอบรมฝึกปฏิบัติในห้องอบรมเเละส่วนของประชาชนในชุมชน จะสร้างสื่อประชาสัมพันธ์หอกระจายทุกเช้า เพื่อกระตุ้นให้ประชาชนตระหนักถึงความสำคัญในการออกกำลังกาย
    3.2 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจะได้รับสมุดการเก็บข้อมูล เพื่อลงบันทึกกิจกรรมเเต่ละวันที่ได้มีกิจกรรมทางกาย อาทิเช่น การเดิน-ปั่นจักรยาน ไปตักบาตรตอนเช้า /ไปทำวัตรที่วัด/ไปซื้อของ /เดินทางไปประกอบอาชีพ เป็นต้น 3.3 มีการออกลงพื้นที่ดูกิจกรรม เเละถ่ายภาพ เพื่อติดตามผลจากการฝึกอบรม
    4.เเบ่งหน้าที่รับผิดชอบเเต่ละส่วนงานในเเต่ละกิจกรรม 4.1 จัดทำหนังสือเพื่อเสนออนุมัติโครงการ 4.2 ติดต่อประสานเเละนัดหมายกับท่านวิทยากร รวมถึงประเด็นเนื้อหาที่จะมาประกอบการบรรยาย 4.3 เเจ้งประชาสัมพันธ์ให้หน่วยงานภายนอกทราบ เช่น ผู้นำเเต่ละหมู่บ้านประชาสัมพันธ์ ผู้ที่สนใจเข้าร่วมอบรม

    งบประมาณ 0.00 บาท
  • 2. ขั้นตอนที่ 2 คัดกรอง พัฒนาศักยภาพกลุ่มเสี่ยงโรค NCDs ครั้งที่ 1
    รายละเอียด

    1.กิจกรรมการดำเนินงานเชิญวิทยากรให้ความรู้จำนวน 1 ท่านซึ่งมีเนื้อหาในดำเนินกิจกรรมเเบ่งเป็น 2 ส่วน ดังนี้
    - ส่วนที่ 1.การบรรยายในหัวข้อหัวข้อที่ 1 .ความรู้เกี่ยวกับ กิจกรรมทางกาย ( PA: Physical Activity)หัวข้อที่ 2 การดูเเลสุขภาพผู้สูงวัย ตามหลักการ 3 อ. 2 ส.รหัสป้องกันโรค - ส่วนที่ 2 การสาธิต กิจกรรมทางกาย/การออกกำลังกาย เเละ การฝึกปฏิบัติรวมถึงเเนะนำ -ข้อควรระวังในการออกกำลังกาย
    2.งบประมาณการดำเนินโครงการ (1) ค่าตอบเเทนวิทยากร (4 ชม.X 600 บาท x 1 คน) เป็นเงิน 2,400 บาท
    (2) ค่าอาหารกลางวัน (23 คน X 60 บาท) เป็นเงิน 1,380 บาท
    (3) อาหารว่าง (23 คนX40บาท X 1 มื้อ) เป็นเงิน 920 บาท (4) ค่าป้ายโครงการ จำนวน 1 ป้าย ขนาด 1 x 2 เมตร เป็นเงิน 240 บาท (5) ค่าวัสดุประกอบการอบรม จำนวน 1,560 บาท

    3.กำหนดระยะการดำเนินโครงการ
    ช่วงเช้า08.00- 08.30 น. -ลงทะเบียน
    08.30 -08.40 น.- เปิดโครงการ ณ ห้องประชุมองค์การบริหารส่วนตำบลเเดงหม้อ
    08.40- 12.00 น.- ฟังบรรยายภาคทฤษฏีส่วนที่ 1 หัวข้อที่ 1 -2 โดยวิทยากร นางรัชวรรณ เจริญชัยข้าราชการบำนาญ ตำเเหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ 12.00 - 13.00 น.-พักรับประทานอาหารกลางวัน ช่วงบ่าย 13.00 -15.00 น.-ฟังบรรยาย หัวข้อหัวข้อที่ 1 .ความรู้เกี่ยวกับ กิจกรรมทางกาย ( PA: Physical Activity) -ภาคปฏิบัติ ด้วนส่วนที่ 2 การสาธิต กิจกรรมทางกาย/การออกกำลังกาย เเละ การฝึกปฏิบัติรวมถึงเเนะนำ -ข้อควรระวังในการออกกำลังกาย
    4.หลังจากที่ผ่านการอบรม ผู้เข้ารบรมจะได้รับ สมุดบันทึกข้อมูล1 เล่ม เเละอธิบายการบันทึกข้อมูล เพื่อเก็บข้อมูลในการทำกิจกรรมทางกายเเต่ละวันเพื่อวัดผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหลังจากอบรมรวมถึงพร้อมกำหนดวันนำส่งสมุด
    5.การสื่อสารประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนในชุมชนได้ตระหนักเเละได้ความรู้เกี่ยวกับกิจกรรมทางกาย จะดำเนินการทำสปอตวิทยุ ขอความอนุเคราะห์ให้ทางผุ้นำชุมชน นำไปเปิดเสียงตามสาย (หอกระจายข่าว ) ช่วงเช้า 20นาที

    งบประมาณ 6,500.00 บาท
  • 3. ขั้นตอนที่ 3 ติดตามผลการดำเนินการ
    รายละเอียด

    1.ผู้เข้าอบรมจะได้รับสมุดบันทึกข้อมูล 1 เล่มเพื่อเป็นข้อมูลบันทึกส่วนที่ 1 ข้อมูลผู้เข้าอบรม -ความรู้ก่อนอบรม ส่วนที่ 2บันทึกกิจกรรมทางการที่ทำเเต่ละวัน (ตั้งเเต่วันที่ 23ส.ค 2567 - 13 กันยายน2567 ) อาทิ กิจกรรมเดิน - ปั่นจักรยาน ไปใส่บาตร/ ไปวัด/ ไปตลาด ไปสวน/เก็บขยะ/รดน้ำผักรวมกิจกรรมต่าง ๆส่วนที่ 3 สรุปวิเคราะห์ข้อมูล เป็นกิจกรรมที่ทำประจำ / เวลาทำกิจกรรม ชม ต่อสัปดาห์/ สุขภาพ เป็นต้น 2.กำหนดส่งสมุดบันทึกวันที่มาอบรมจบโครงการ ในวันที่ 11 กันยายน 2567 3.ประเมินผลการดำเนินการจากการสังเกต โดยให้คณะทำงานเเต่ละหมู่บ้าน ถ่ายภาพกิจกรรมต่าง ๆของผู้สูงอายุหรือผู้เข้าอบรมส่งให้ส่วนกลางเก็บข้อมูลใช้ประกอบ


    2.งบประมาณการดำเนินโครงการ (1) ค่าตอบเเทนวิทยากร (2 ชม.X 600 บาท x 1 คน) เป็นเงิน 1,200 บาท (2) ค่าอาหารกลางวัน (23 คน X 60 บาท) เป็นเงิน 1,380 บาท
    (3) อาหารว่าง (23 คนX40บาท X 1 มื้อ) เป็นเงิน 920 บาท

    3.กำหนดระยะการดำเนินโครงการ
    ช่วงเช้า 08.00- 08.30 น. -ลงทะเบียน
    08.30-08.40 น. -เปิดโครงการ ณ ห้องประชุมองค์การบริหารส่วนตำบลเเดงหม้อ 08.40-10.00 น. -คัดกรองสุขภาพหลังจากการอบรม 10.00-12.00-เเลกเปลี่ยนความรู้ของผู้เข้าอบรมระหว่างกัน 12.00-13.00 น.- พักรับประทานอาหารกลางวัน ช่วงบ่าย 13.00 -15.00 น. ผู้เข้าอบรม ทำกิจกรรมนันทนาการฝึกงานฝีมือทำโมบาย -สรุปผลภาพรวมในการจัดกิจกรรมโดยหมอจาก รพ.สต.เเดงหม้อ

    งบประมาณ 3,500.00 บาท
  • 4. ขั้นตอนที่ 4 สรุปเเละรายงานการดำเนินโครงการ
    รายละเอียด

    1.รวบรวบสมุดบันทึกข้อมูลข้อมูลอบรม เพื่อนำมาสรุปผลดำเนิน-ผลที่ได้ตามระยะเวลาการดำเนินโครงการ -ระยะเเรก (ก่อนการอบรม) -ระยะหลังการอบรม 3 เดือน ตั้งเเต่ เดือนสิงหาคม 2567 ถึง กันยายน 2567 - ภาพรวมจากการสังเกต ข้อมูลจากคณะทำงานเเต่ละหมู่บ้าน
    2.ทำรายงานสรุปผลการดำเนินงาน ข้อเสนอเเนะ เเละ ปัญหาที่เกิด เพื่อนำมาเป็นข้อมูลในการพัฒนาเเละเเก้ไขในการทำโครงการต่อไป 3.สรุปรายงานผลการดำเนินเเละนำเสนอข้อมูลให้ผู้เกี่ยวข้องเเละคณะทำงานได้ทราบผลการดำเนินงาน

    งบประมาณ 0.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 14 สิงหาคม 2567 ถึง 12 กันยายน 2567

8.
สถานที่ดำเนินการ

บ้านบุตร หมู่ที่ 3 เเละหมู่ที่ 4 ตำบลเเดงหม้อ อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 10,000.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

1.เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้สูงอายุร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปี ขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลาง อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์) ร้อยละ 65.66
2.เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่ ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)ร้อยละ 55.22

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แดงหม้อ รหัส กปท. L6595

อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.แดงหม้อ
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แดงหม้อ รหัส กปท. L6595

อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 10,000.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................