กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบุดี

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

ส่งเสริมสุขภาพชุมชนบ้านไบก์ห่างไกลจากโรคเรื้อรัง

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบุดี

ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขหมู่บ้าน หมู่ที่ 5 บ้านไบก์

1.นางรอฮานาการอประธานกรรมการ
2.นายอะห์หมัดบากา รองประธาน
3.นางหามีดะห์ลูแม เลขานุการ
4.นางรอกีเย๊าะมูซอ กรรมการ
5.นางอาแวเสาะแวบือซา กรรมการ

หมู่ที่ 5 ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

จากการสํารวจปัญหาสุขภาพของประชาชนชุมชนบ้านไบก์ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2567 พบว่าปัญหาสุขภาพ การ มีดัชนีมวลกายสูง ความดันโลหิตสูง จํานวน 106 คน และเบาหวาน จํานวน 27 คน ไขมันในเลือดสูง 23 คน มีปัจจัย ความเสี่ยงที่ละเลยการตรวจสุขภาพ ปัญหาสําคัญคือ 1.บกพร่องความรู้เกี่ยวกับการดูแลตนเอง 2.ขาดแรงจูงใจและแรง สนับสนุนจากผู้นําชุมชน 3.ปัญหาในเรื่องอุปสรรคทางวัฒนธรรม คี คอ ความอาย ซึ่งต้องมีการเสริมสร้างพลังอํานาจไน การแก้ไขปัญหาเหล่านั้น รูปแบบการเสริมสร้างพลังอํานาจเป็นรูปแบบ คือ การให้ความรู้เกี่ยวกับการดแลสุขภาพร่วมกับการจัดกิจกรรมเพื่อสุขภาพในชุมชน องค์ประกอบพื้นฐาน ได้แก่ ความเจ็บป่วยเรื้อรังที่สามารถป้องกันได้ โดย การมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพที่เหมาะสม การออกกําลังกาย การพักผ่อนหย่อนใจเพื่อคลายความเครียด การ รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ และการตรวจคัดกรองโรคด้วยตนเอง เป็นต้น ทางชมรม อสม. หมู่ 5 บ้านไบก์ได้ตระหนักถึงความสําคัญ จึงได้จัดทําโครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชนบ้านไบก์ ห่างไกลโรคเรื้อรัง โดยการผสมผสานการดูแลสุขภาพหลากหลายวิธี เพื่อตอบสนองความต้องการที่หลากหลายของ ประชาชน และให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจและรับผิดชอบการดูแลสุขภาพตนเอง เพื่อนําไปสู่การส่งเสริม สุขภาพด้วยตนเองที่ยั่ยืน จึงได้มีแนวคิดในการจัดโครงการเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพประชาชน ที่ครอบคลุมเกี่ยวกับ การให้ความรู้ ส่งเสริมการตระหนักในการดูแลสุขภาพของตนเอง

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. ประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไป ได้รับการตรวจสุขภาพทุกเดือน

ร้อยละ 80 ของ ประชาชนอายุ 35 ขึ้นไป ได้รับการตรวจสุขภาพ

1.00 1.00
2 ประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไป ได้รับความรู้เรื่องการควบคุม พัฒนาพฤติกรรมเพื่อสุขภาพกายและจิตที่ดี อาการเพื่อสุขภาพและโภชนาการที่เหมาะสม และการปรับสมดุลร่างกายด้วยท่ามณีเวช 5 ท่า

ร้อยละ 80 ของประชาชน อายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับความรู้เรื่องการควบคุม พัฒนาพฤติกรรมเพื่อสุขภาพกายและจิตที่ดี อาการเพื่อสุขภาพและโภชนาการที่เหมาะสม และการปรับสมดุลร่างกายด้วยท่ามณีเวช 5 ท่า

1.00 1.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/08/2024

กำหนดเสร็จ 30/09/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 - ติดตามตรวจสุขภาพประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ทุกเดือน

ชื่อกิจกรรม
- ติดตามตรวจสุขภาพประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ทุกเดือน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ค่าเครื่องวัดความดันโลหิตชนิดดิจิตอล จำนวน 1 เครื่อง x 2,500 บาท                                                 เป็นเงิน 2,500 บาท
  2. ค่าเครื่องตรวจน้ำตาลในเลือดปลายนิ้ว จำนวน 1 เครื่อง x 1,500 บาท                                                 เป็นเงิน 1,500 บาท
  3. ค่าแผ่นตรวจน้ำตาลในเลือด จำนวน 4 กล่อง *625 บาท เป็นเงิน 2,500
  4. ค่าเข็มเจาะเลือดปลายนิ้ว จำนวน 3 กล่อง * 500 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท
    3.ค่าเครื่องชั่งน้ำหนักดิจิตอล จำนวน 2 เครื่อง x 1,000 บาท
    เป็นเงิน 2,000 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 สิงหาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
10000.00

กิจกรรมที่ 2 อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 1 มื้อๆละ 75 บาท จำนวน 40 คน
                                                        เป็นเงิน 3,000 บาท 2.ค่าอาหารว่าง จำนวน 2 มื้อๆละ 35 บาท  จำนวน 40 คน
                                                        เป็นเงิน 2,800 บาท 3.ค่าวิทยากร จำนวน 5 ชั่วโมงๆละ 600 บาท จำนวน 1 คน
                                                         เป็นเงิน 3,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 สิงหาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
8800.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 18,800.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ประชาชนได้รับความรู้เกี่ยวกับวิธีการดูแลสุขภาพ การจัดการความเครียด อาหาร และการป้องกันโรคต่างๆ
2.ประชาชนมีความตระหนักในความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพในการป้องกันโรคมากขึ้น
3. ประชาชนสามารถถ่ายทอดความรููุ้่บุคลอื่นในครอบครัวได้
4.ประชาชนได้รับการตรวจสุขภาพทุกเดือน


>