กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ส่งเสริมสุขภาพชุมชนบ้านไบก์ห่างไกลจากโรคเรื้อรัง
รหัสโครงการ 67 L4135 02 13
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขหมู่บ้าน หมู่ที่ 5 บ้านไบก์
วันที่อนุมัติ 31 กรกฎาคม 2567
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 สิงหาคม 2567 - 30 กันยายน 2567
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2567
งบประมาณ 18,800.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขหมู่บ้าน หมู่ที่ 5 บ้านไบก์
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

จากการสํารวจปัญหาสุขภาพของประชาชนชุมชนบ้านไบก์ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2567 พบว่าปัญหาสุขภาพ การ มีดัชนีมวลกายสูง ความดันโลหิตสูง จํานวน 106 คน และเบาหวาน จํานวน 27 คน ไขมันในเลือดสูง 23 คน มีปัจจัย ความเสี่ยงที่ละเลยการตรวจสุขภาพ ปัญหาสําคัญคือ 1.บกพร่องความรู้เกี่ยวกับการดูแลตนเอง 2.ขาดแรงจูงใจและแรง สนับสนุนจากผู้นําชุมชน 3.ปัญหาในเรื่องอุปสรรคทางวัฒนธรรม คี คอ ความอาย ซึ่งต้องมีการเสริมสร้างพลังอํานาจไน การแก้ไขปัญหาเหล่านั้น รูปแบบการเสริมสร้างพลังอํานาจเป็นรูปแบบ คือ การให้ความรู้เกี่ยวกับการดแลสุขภาพร่วมกับการจัดกิจกรรมเพื่อสุขภาพในชุมชน องค์ประกอบพื้นฐาน ได้แก่ ความเจ็บป่วยเรื้อรังที่สามารถป้องกันได้ โดย การมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพที่เหมาะสม การออกกําลังกาย การพักผ่อนหย่อนใจเพื่อคลายความเครียด การ รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ และการตรวจคัดกรองโรคด้วยตนเอง เป็นต้น ทางชมรม อสม. หมู่ 5 บ้านไบก์ได้ตระหนักถึงความสําคัญ จึงได้จัดทําโครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชนบ้านไบก์ ห่างไกลโรคเรื้อรัง โดยการผสมผสานการดูแลสุขภาพหลากหลายวิธี เพื่อตอบสนองความต้องการที่หลากหลายของ ประชาชน และให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจและรับผิดชอบการดูแลสุขภาพตนเอง เพื่อนําไปสู่การส่งเสริม สุขภาพด้วยตนเองที่ยั่ยืน จึงได้มีแนวคิดในการจัดโครงการเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพประชาชน ที่ครอบคลุมเกี่ยวกับ การให้ความรู้ ส่งเสริมการตระหนักในการดูแลสุขภาพของตนเอง

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. ประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไป ได้รับการตรวจสุขภาพทุกเดือน

ร้อยละ 80 ของ ประชาชนอายุ 35 ขึ้นไป ได้รับการตรวจสุขภาพ

1.00 1.00
2 ประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไป ได้รับความรู้เรื่องการควบคุม พัฒนาพฤติกรรมเพื่อสุขภาพกายและจิตที่ดี อาการเพื่อสุขภาพและโภชนาการที่เหมาะสม และการปรับสมดุลร่างกายด้วยท่ามณีเวช 5 ท่า

ร้อยละ 80 ของประชาชน อายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับความรู้เรื่องการควบคุม พัฒนาพฤติกรรมเพื่อสุขภาพกายและจิตที่ดี อาการเพื่อสุขภาพและโภชนาการที่เหมาะสม และการปรับสมดุลร่างกายด้วยท่ามณีเวช 5 ท่า

1.00 1.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
คงเหลือ
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 18,800.00 0 0.00 18,800.00
1 ส.ค. 67 - 30 ก.ย. 67 - ติดตามตรวจสุขภาพประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ทุกเดือน 0 10,000.00 - -
1 ส.ค. 67 - 30 ก.ย. 67 อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน 0 8,800.00 - -
รวมทั้งสิ้น 0 18,800.00 0 0.00 18,800.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนได้รับความรู้เกี่ยวกับวิธีการดูแลสุขภาพ การจัดการความเครียด อาหาร และการป้องกันโรคต่างๆ
2.ประชาชนมีความตระหนักในความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพในการป้องกันโรคมากขึ้น 3. ประชาชนสามารถถ่ายทอดความรููุ้่บุคลอื่นในครอบครัวได้
4.ประชาชนได้รับการตรวจสุขภาพทุกเดือน

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 31 ก.ค. 2567 00:00 น.