กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากบาง รหัส กปท. L5191

อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการพัฒนาระบบบริการฝากครรภ์และส่งเสริมสุขภาพเด็กเชิงรุกสู่ชุมชน
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่ หมู่ที่ 4 บ้านคลองประดู่
กลุ่มคน
1. นางสาวซาลีป๊ะ เพ็ชรแก้ว
2. นางสาวรอฮาณี บ่อเตย
3. นางสาวสาลูมา สลำ
4. นางสาวอนุสรา สุทธิประดิษฐ
5. นางสาวปิยะนุช ดาโอะ
3.
หลักการและเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) ในอดีตสังคมไทยที่เคยเป็นครอบครัวขยายก็กลายเปลี่ยนเป็นครอบครัวเดี่ยวมากขึ้นการทำงานนอกบ้านของผู้หญิงมีมากขึ้น การดูแลตนเองในขณะตั้งครรภ์ การเลี้ยงดูลูกในวัยต่าง ๆตั้งแต่วัยทารก วัยเด็ก วัยเรียนและวัยรุ่น บิดามารดามีเวลาในการเลี้ยงดูลูกน้อยลง สถาบันครอบครัวอ่อนแอจนอาจเกิดผลกระทบต่อการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์ ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยส่งผลต่อการพัฒนาการทางร่างกายและสติปัญญาของเด็กในระยะยาว ปัจจุบันพบว่าจังหวัดสงขลามีอัตรามารดา และทารกเสียชีวิตเพิ่มสูงขึ้นจากโรคแทรกซ้อนที่ป้องกันได้ ( HT DM Thyroid Heart และ PPH) มีผลการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก 3 ปีย้อนหลัง (พ.ศ.2564-2566) พบว่ามารดามีการฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ (มากกว่าร้อยละ 60) ร้อยละ 82.14,89.13 และร้อยละ 83.33 ตามลำดับ อัตราภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ครั้งที่ 1 (น้อยกว่าร้อยละ 10) ร้อยละ 7.95, 26.82 ทารกน้ำหนักต่ำกว่า ๒๕๐๐ กรัม (น้อยกว่าร้อยละ6) ร้อยละ6.56, 12.28 และ 9.23 ตามลำดับ มีการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ อย่างเดียว 6 เดือนร้อยละ 59.57,79.69 และร้อยละ12.28 ตามลำดับ และในปีงบประมาณ 2560-2562 เด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 21.04ร้อยละ 21.55และ59.62ตามลำดับ
ดังนั้นการพัฒนาคนให้มีคุณภาพจึงจำเป็นต้องเริ่มตั้งแต่ก่อนตั้งครรภ์ ระยะตั้งครรภ์จนกระทั่งมารดาคลอด และดูแลตามวัยจนอายุ 5 ปีให้มีความปลอดภัยทั้งชีวิตมารดาและทารก ตามมาตรฐานงานอนามัยแม่และเด็ก อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่ หมู่ที่ 4 บ้านคลองประดู่ จึงจัดทำโครงการเพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาพกลุ่มแม่และเด็ก ในพื้นที่เขตรับผิดชอบโดยการสร้างความร่วมมือกับครอบครัว ผู้ดูแลหญิงตั้งครรภ์และเด็กพร้อมทั้งสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแลสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก เพื่อให้มีภาวะสุขภาพที่ดี

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. การพัฒนารูปแบบการจัดบริการโรงเรียนพ่อแม่ในคลินิกANC และ WBC
    ตัวชี้วัด : เกิดรูปแบบการจัดบริการโรงเรียนพ่อแม่แนวใหม่แบบBBL และแบบการมีส่วนร่วม
    ขนาดปัญหา 50.00 เป้าหมาย 75.00
  • 2. เสริมพลังหญิงตั้งครรภ์ สามี พ่อแม่ หรือผู้ดูแลเด็ก ในการเลี้ยงเด็กอายุ 0-5 ปี ให้มีคุณภาพ
    ตัวชี้วัด : ได้รูปแบบการดูแลหญิงตั้งครรภ์ และการเลี้ยงดูเด็กที่เป็นรูปธรรม
    ขนาดปัญหา 50.00 เป้าหมาย 75.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. อบรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้หญิงตั้งครรภ์
    รายละเอียด

    อบรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้หญิงตั้งครรภ์ สามี ร่วมกันคิด ร่วมกันแสดงความคิดเห็นเรื่องการดูแลหญิงตั้งครรภ์ และร่วมกันออกแบบกิจกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตมารดาและทารก - ค่าอาหารว่าง 25บ.x50คนx2 = 2,500 บ. - ค่าป้ายไวนิลโครงการ 1 ผืน = 500 บ. - ค่าอาหารกลางวัน 50บ.x 50 คน = 2,500 บ. - ค่าวิทยากร ชั่วโมงละ 600 บาท x 5 ชั่วโมง = 3,000 บาท

    งบประมาณ 8,500.00 บาท
  • 2. สนทนากลุ่ม (Focus group)
    รายละเอียด

    สนทนากลุ่ม (Focus group) กับ พ่อแม่ หรือผู้ดูแลเด็กอายุ 0-5 ปี เป็นการสนทนาแลกเปลี่ยนเรื่องการดูแลเด็ก - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 25บ.x60คนx2 =3,000บ.
    - ค่าอาหารกลางวัน 50บ.x 60คน = 3,000 บ. - ค่าวัสดุอุปกรณ์ =750

    งบประมาณ 6,750.00 บาท
  • 3. กิจกรรมโรงเรียนพ่อแม่
    รายละเอียด

    กิจกรรมโรงเรียนพ่อแม่โดยจัดฐานเรียนรู้คุณภาพชีวิตเด็กแบบมีส่วนร่วม และเสริมพลังแบ่งออกเป็น 4 ฐาน - ค่าอาหารว่าง 25บ.x 60 คน = 1,500 บ.

    งบประมาณ 1,500.00 บาท
  • 4. ถอดบทเรียนกลุ่มพ่อแม่ หรือผู้ดูแลเด็ก และกลุ่มภาคีเครือข่ายอายุ 0-5 ปี
    รายละเอียด

    ถอดบทเรียนกลุ่มพ่อแม่ หรือผู้ดูแลเด็ก และกลุ่มภาคีเครือข่ายอายุ 0-5 ปีร่วมสะท้อนผลการพัฒนาคุณภาพเด็ก และร่วมประเมินผล - ค่าอาหารว่าง 25บ.x 50 คน = 1,250 บ. - ค่าวัสดุอุปกรณ์ = 750 บาท

    งบประมาณ 2,000.00 บาท
  • 5. พัฒนาศักยภาพอสม.
    รายละเอียด

    พัฒนาศักยภาพอสม.เยี่ยมบ้านอนามัยมารดาและนมแม่ - ค่าอาหารว่าง 25บ.x25คนx2 =1,250 บ.
    - ค่าอาหารกลางวัน 50บ.x 25คน = 1,250 บ. - ค่าวิทยากร ชม. ละ600x5ชม.= 3,000 - ค่าวัสดุอุปกรณ์ =750

    งบประมาณ 6,250.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 สิงหาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567

8.
สถานที่ดำเนินการ

หมู่ที่ 4 ตำบลปากบาง อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 25,000.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  1. หญิงตั้งครรภ์ ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ ฝากครรภ์อย่างต่อเนื่อง 5 ครั้งตามเกณฑ์ และหญิงหลังคลอดได้รับการดูแลหลังคลอดทุกราย
  2. เด็ก 0-5 ปี ได้รับการดูแลตามมาตรฐานงานอนามัยแม่และเด็กอย่างต่อเนื่อง
  3. เด็ก 0 – 6 ได้รับด้วยนมแม่อย่างเดียว ๖ เดือน
  4. เด็ก 0 – 5 ปี มีพัฒนาการสมวัยทุกช่วงวัย
  5. ไม่มีมารดาเสียชีวิตเกิดขึ้นในพื้นที่หมู่ที่ 4 บ้านคลองประดู่PCU1-2
  6. หญิงตั้งครรภ์มีภาวะโลหิตจางไม่เกินร้อยละ 10
  7. เด็กแรกเกิดน้ำหนักต่ำกว่า 2500 กรัม ไม่เกินร้อยละ 7
  8. หญิงตั้งครรภ์คลอดก่อนกำหนด (ต่ำกว่า 37 สัปดาห์) ลดลงร้อยละ 10 เทียบปีที่ผ่านมา
  9. ไม่เกิดภาวะ DFIU ( Death fetus in utero ) หรือไม่เกินร้อยละ 3
11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากบาง รหัส กปท. L5191

อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากบาง
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากบาง รหัส กปท. L5191

อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 25,000.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................