กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการคัดกรองค้นหากลุ่มเสี่ยงติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบีและไวรัสตับอักเสบซี รพ.สต.บ้านทุ่งยาว

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งยาว

1. นายเอนกกลิ่นรส
2. นางสาวณัฎฐณิชาสมจิตร
3. นางสาวเบญจมาศ เกื้อสุข
4. นางกิตติยาพรหมปาน
5. นางยุพยงค์เพชรรักษ์

หมู่ที่ 1 หมู่ที่ 7 และหมู่ที่ 9 ตำบลโคกชะงาย

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 1.ร้อยละของการคัดกรอง ค้นหาประชาชนกลุ่มเสี่ยงอายุ 33 ปีขึ้นไป ติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี และไวรัสตับอักเสบซี

 

2.00

โรคไวรัสตับอักเสบ บี และ ซี เรื้อรัง เป็นสาเหตุสําคัญของโรคตับแข็งและมะเร็งตับ อันเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สําคัญทั้งในระดับโลกและระดับภูมิภาค ประเทศไทยถูกจัดอยู่ในกลุ่มประเทศที่พบผู้ติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ บี ในระดับที่สูง และมีแนวโน้มพบผู้เสียชีวิตจากตับแข็งและมะเร็งตับเพิ่มขึ้นการเร่งรัดจัดการแก้ไขปัญหาโรคไวรัสตับอักเสบเรื้อรังอย่างบูรณาการ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายในการกําจัดโรคไวรัสตับอักเสบให้หมดไปภายในปี พ.ศ. 2573 จําเป็นที่จะต้องมีการพัฒนางานให้เข้มแข็งและเป็นระบบและต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของภาคส่วนต่าง ๆ ในการขับเคลื่อน ดังนั้นเพื่อให้การดําเนินงานมีความสอดคล้องเป็นไปในทิศทางเดียวกันอย่างมีประสิทธิภาพ กรมควบคุมโรค โดยกองโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์จึงได้จัดทําแนวทางการดําเนินงานตรวจคัดกรองโรคติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ บี และ ซี ในประชากรกลุ่มเป้าหมายที่มีความเสี่ยง เพื่อส่งต่อเข้าสู่ระบบการรักษา สําหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั่วประเทศ โดยมีจุดมุ่งหมายให้ประชากรกลุ่มเป้าหมายที่มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ บี และ ซี สามารถเข้าถึงการตรวจคัดกรองหาการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ บี และซี ได้ง่าย สะดวก และได้รับ การส่งต่อเข้าสู่กระบวนการทางสาธารณสุขให้ได้รับการรักษาต่อไป เพื่อลดการเกิดโรคไวรัสตับอักเสบเรื้อรัง โรคตับแข็ง และมะเร็งตับ รวมถึงประชากรกลุ่มเป้าหมายที่มีความเสี่ยงที่ตรวจไม่พบการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ บี และตรวจไม่พบภูมิคุ้มกันต่อโรคไวรัสตับอักเสบ บี จะได้รับการแนะนําให้ได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันไวรัสตับอักเสบ บี ต่อไป

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงอายุ 33 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรอง ค้นหา การติดเชื้อโรคไวรัสตับอับเสบบี และไวรัสตับอับเส

ร้อยละ 10 ของประชาชนกลุ่มเสี่ยงอายุ 33 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรอง ค้นหา การติดเชื้อโรคไวรัสตับอับเสบบี และไวรัสตับอับเสบซี

10.00
2 เพื่อให้ผู้ติดเชื้อโรคไวรัสตับอับเสบบี และไวรัสตับอับเสบซี รายใหม่ได้รับการส่งต่อวินิจฉัย รักษา

ร้อยละ 100 ของผู้ติดเชื้อโรคไวรัสตับอักเสบบี และไวรัสตับอักเสบซี รายใหม่ได้รับการส่งต่อวินิจฉัยรักษา

10.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 133
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/01/2025

กำหนดเสร็จ 31/07/2025

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 จัดรณรงค์ตรวจคัดกรอง ค้นหา การติดเชื้อโรคไวรัสตับอับเสบบี และไวรัสตับอับเสบซี

ชื่อกิจกรรม
จัดรณรงค์ตรวจคัดกรอง ค้นหา การติดเชื้อโรคไวรัสตับอับเสบบี และไวรัสตับอับเสบซี
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ชุดทดสอบตรวจหาเชื้อไวรัสตับอักเสบบี (HBsAg)จำนวน 140 ชิ้นๆละ 40บาท เป็นเงิน 5600 บาท

2.ชุดทดสอบตรวจหาเชื้อไวรัสตับอักเสบซี(HCV) จำนวน 140 ชิ้นๆละ 40บาท เป็นเงิน 5600 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
12 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 31 พฤษภาคม 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
11200.00

กิจกรรมที่ 2 สรุปผลการตรวจคัดกรอง ค้นหา การติดเชื้อโรคไวรัสตับอับเสบบี และไวรัสตับอับเสบซีกลุ่มป่วยได้รับการส่งต่อทุกราย

ชื่อกิจกรรม
สรุปผลการตรวจคัดกรอง ค้นหา การติดเชื้อโรคไวรัสตับอับเสบบี และไวรัสตับอับเสบซีกลุ่มป่วยได้รับการส่งต่อทุกราย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

สรุปผลการตรวจคัดกรอง ค้นหา การติดเชื้อโรคไวรัสตับอับเสบบี และไวรัสตับอับเสบซีกลุ่มป่วยได้รับการส่งต่อทุกราย

ระยะเวลาดำเนินงาน
27 มีนาคม 2568 ถึง 31 กรกฎาคม 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 3

ชื่อกิจกรรม
ระบุชื่อกิจกรรม
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2568 ถึง 31 กรกฎาคม 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 11,200.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ประชาชนกลุ่มเสี่ยงอายุ 33 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรอง ค้นหา การติดเชื้อโรคไวรัสตับอับเสบบี และไวรัสตับอับเสบซี ร้อยละ 10
2.ผู้ติดเชื้อโรคไวรัสตับอักเสบบี และไวรัสตับอักเสบซี รายใหม่ได้รับการส่งต่อวินิจฉัย รักษาพยาบาลทุกราย


>