โครงการคัดกรองค้นหากลุ่มเสี่ยงติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบีและไวรัสตับอักเสบซี รพ.สต.บ้านทุ่งยาว
ชื่อโครงการ | โครงการคัดกรองค้นหากลุ่มเสี่ยงติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบีและไวรัสตับอักเสบซี รพ.สต.บ้านทุ่งยาว |
รหัสโครงการ | 2568-L3351-01-05 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งยาว |
วันที่อนุมัติ | 1 มกราคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มกราคม 2568 - 31 กรกฎาคม 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 29 สิงหาคม 2568 |
งบประมาณ | 11,200.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายเอนก กลิ่นรส |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง |
ละติจูด-ลองจิจูด | 7.624248,100.014553place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 133 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | 1.ร้อยละของการคัดกรอง ค้นหาประชาชนกลุ่มเสี่ยงอายุ 33 ปีขึ้นไป ติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี และไวรัสตับอักเสบซี | 2.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
โรคไวรัสตับอักเสบ บี และ ซี เรื้อรัง เป็นสาเหตุสําคัญของโรคตับแข็งและมะเร็งตับ อันเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สําคัญทั้งในระดับโลกและระดับภูมิภาค ประเทศไทยถูกจัดอยู่ในกลุ่มประเทศที่พบผู้ติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ บี ในระดับที่สูง และมีแนวโน้มพบผู้เสียชีวิตจากตับแข็งและมะเร็งตับเพิ่มขึ้นการเร่งรัดจัดการแก้ไขปัญหาโรคไวรัสตับอักเสบเรื้อรังอย่างบูรณาการ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายในการกําจัดโรคไวรัสตับอักเสบให้หมดไปภายในปี พ.ศ. 2573 จําเป็นที่จะต้องมีการพัฒนางานให้เข้มแข็งและเป็นระบบและต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของภาคส่วนต่าง ๆ ในการขับเคลื่อน ดังนั้นเพื่อให้การดําเนินงานมีความสอดคล้องเป็นไปในทิศทางเดียวกันอย่างมีประสิทธิภาพ กรมควบคุมโรค โดยกองโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์จึงได้จัดทําแนวทางการดําเนินงานตรวจคัดกรองโรคติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ บี และ ซี ในประชากรกลุ่มเป้าหมายที่มีความเสี่ยง เพื่อส่งต่อเข้าสู่ระบบการรักษา สําหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั่วประเทศ โดยมีจุดมุ่งหมายให้ประชากรกลุ่มเป้าหมายที่มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ บี และ ซี สามารถเข้าถึงการตรวจคัดกรองหาการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ บี และซี ได้ง่าย สะดวก และได้รับ การส่งต่อเข้าสู่กระบวนการทางสาธารณสุขให้ได้รับการรักษาต่อไป เพื่อลดการเกิดโรคไวรัสตับอักเสบเรื้อรัง โรคตับแข็ง และมะเร็งตับ รวมถึงประชากรกลุ่มเป้าหมายที่มีความเสี่ยงที่ตรวจไม่พบการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ บี และตรวจไม่พบภูมิคุ้มกันต่อโรคไวรัสตับอักเสบ บี จะได้รับการแนะนําให้ได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันไวรัสตับอักเสบ บี ต่อไป
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงอายุ 33 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรอง ค้นหา การติดเชื้อโรคไวรัสตับอับเสบบี และไวรัสตับอับเส ร้อยละ 10 ของประชาชนกลุ่มเสี่ยงอายุ 33 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรอง ค้นหา การติดเชื้อโรคไวรัสตับอับเสบบี และไวรัสตับอับเสบซี |
10.00 | |
2 | เพื่อให้ผู้ติดเชื้อโรคไวรัสตับอับเสบบี และไวรัสตับอับเสบซี รายใหม่ได้รับการส่งต่อวินิจฉัย รักษา ร้อยละ 100 ของผู้ติดเชื้อโรคไวรัสตับอักเสบบี และไวรัสตับอักเสบซี รายใหม่ได้รับการส่งต่อวินิจฉัยรักษา |
10.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 11,200.00 | 0 | 0.00 | |
12 ก.พ. 68 - 31 พ.ค. 68 | จัดรณรงค์ตรวจคัดกรอง ค้นหา การติดเชื้อโรคไวรัสตับอับเสบบี และไวรัสตับอับเสบซี | 0 | 11,200.00 | - | ||
1 มี.ค. 68 - 31 ก.ค. 68 | 0 | 0.00 | - | |||
27 มี.ค. 68 - 31 ก.ค. 68 | สรุปผลการตรวจคัดกรอง ค้นหา การติดเชื้อโรคไวรัสตับอับเสบบี และไวรัสตับอับเสบซีกลุ่มป่วยได้รับการส่งต่อทุกราย | 0 | 0.00 | - |
1.ประชาชนกลุ่มเสี่ยงอายุ 33 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรอง ค้นหา การติดเชื้อโรคไวรัสตับอับเสบบี และไวรัสตับอับเสบซี ร้อยละ 10 2.ผู้ติดเชื้อโรคไวรัสตับอักเสบบี และไวรัสตับอักเสบซี รายใหม่ได้รับการส่งต่อวินิจฉัย รักษาพยาบาลทุกราย
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 4 ก.ย. 2567 00:00 น.