กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาหลง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการปลูกเห็ดเพื่อสุขภาพ

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาหลง

ชมรมผู้สูงอายุบ้านป่าไผ่

1 นายมะยูโซะ สะอะ ประธาน
2 นายเทพ ศรีแดง รองประธาน
3 นายการิง ซา กรรมการ
4นางน้อย ปิ่นแก้วกรรมการ
5 นางน้อยปิ่นแก้ว กรรมการ
6 นางสาวคอปือเสาะ สะอะ เหรัญญิก/เลขานุการ

ม. 2 บ้านป่าไผ่ ต.กาหลง อ.ศรีสาคร จ.นราธิวาส

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของพื้นที่เกษตรปลอดภัยและเกษตรอินทรีย์ เมื่อเทียบกับพื้นที่เกษตรทั้งหมด

 

80.00
2 ร้อยละของประชาชนที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือดเกินมาตรฐานความปลอดภัย

 

30.00
3 ร้อยละของคนในชุมชนที่กินผัก ผลไม้ อย่างน้อยวันละ 500 กรัม

 

90.00

ด้วยในภาวะปัจจุบัน การซื้ออาหารมาบริโรคจากตลาด เช่น ผัก เห็น ฯลฯ มีสารพิษในการฉีดพ่นในพืชเล่านี้เพื่อความสดและสามารถเก็บไว้ได้นาน ซี่งการบริโรคอาหารและพืชจากท้องตลาดจะมีผลต่อร่างกาย ทำให้เกิดโรคร้ายแรงหลายโรค เช่น โรคมะเร็ง ความดัน ฯลฯเพราะสารเคมีที่ใช้กับพืชที่ปลูกมีสารทำให้มีผลกระทบต่อร่างกายอย่างมาก โดยเฉพาะผู้สูงอายุ
ดังนี้กลุ่มผู้สูงอายุ บ้านป่าไผ่ จึงได้ทำโครงการเพาะเห็นเพื่อสุขภาพ ไว้ประกอบอาหารรับประทานเพื่อลดปัญหาสารเคมีในพืชที่ใช้ในการบริโรค เพื่อลดปัญหาจากโรคที่เกิดขึ้นในผู้สูงอายุ ทำให้สุขภาพแข็งแรง เพราะปลูกผักรับประทานเอง ปลอดสารพิษต่าง ๆ

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มคนในชุมชนที่กินผัก ผลไม้ อย่างน้อยวันละ 500 กรัม

ร้อยละของคนในชุมชนที่กินผัก ผลไม้ อย่างน้อยวันละ 500 กรัม

90.00 1.00
2 เพื่อเพิ่มพื้นที่เกษตรปลอดภัยและเกษตรอินทรีย์

ร้อยละของพื้นที่เกษตรปลอดภัยและเกษตรอินทรีย์ เมื่อเทียบกับพื้นที่เกษตรทั้งหมด

80.00 1.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 20
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/07/2024

กำหนดเสร็จ 30/12/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้ในการเพาะเห็ด

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้ในการเพาะเห็ด
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าวิทยากร  600 บาท จำนวน 1 คน  2 ชม.  จำนวน  1,200 บาท
ค่าอาหารกลางวัน  75บาท  จำนวน  20 คน  เป็นเงิน 1,500 บาท
ค่าอาหารว่าง    25 บาท จำนวน  20  คน  เป็นเงิน  500 บาท
ค่าวัสดุ อุปกรณ์  1,800 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กันยายน 2567 ถึง 30 ธันวาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้สูงอายุได้รับการบริโภคผักที่ปลอดสารพิษและรู้จักการปลูกพืชรับประทานเอง/สุขภาพของผู้สูงอายุแข็งแรง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
5000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 5,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. 1. ผู้สูงอายุบริโรคผักปลอดสารพิษ
2. 2. ผู้สูงอายุมีปลอดภัยจากโรค
3. 3. ผู้สูงอายุมีสุขภาพที่แข็งแรง
4. 4. ชุมชนเกิดการรวมกลุ่มและมีความสามัคคี


>