กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาหลง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการทำยาหม่องสมุนไพรเพื่อสุขภาพ

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาหลง

กลุ่มผู้สูงอายุ หมู่ 1 บ้านกาหลง

1. นายธานีทองเลิศ
2.นางบรรจงแก้วถาวร
3.นายบุญยงค์ลีแวง
4.นายสินธ์พรหมตรัง
5. นายวีระหนูทอง

ม. 1 ตำบลกาหลง อ.ศรีสาคร จ.นราธิวาส

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานมลพิษจากสิ่งแวดล้อม

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนวันที่ค่า PM2.5 เกินค่ามาตรฐานในรอบปี

 

60.00
2 จำนวนจุดความร้อน (Hot spot) ในพื้นที่ในรอบปี (พื้นที่ป่า พื้นที่เกษตร พื้นที่ริมทางหลวง (50 เมตร) พื้นที่ชุมชน)

 

30.00
3 ร้อยละของประชาชนที่มีพฤติกรรมการป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพจาก PM2.5

 

20.00
4 ร้อยละของครัวเรือนที่มีความจำเป็นต้องเผาขยะ เศษวัสดุ หรือซากวัสดุการเกษตร

 

50.00
5 ร้อยละของหมู่บ้าน/ชุมชนที่มีและใช้มาตรการลดมลพิษทางอากาศ

 

30.00

ภูมิปัญญาแพทย์พื้นบ้าน เป็นส่วนสำคัญที่ทำให้คนไทยมีสุขภาพที่แข็งแรงและสมบูรณ์ แต่ในปัจจุบัน ภูมิปัญญาทางการแพทย์ได้เข้ามามีบทบาทมากขึ้น จึงทำให้ ภูมิปัญญาอันมีค่าเหล่านี้ได้ลางเลือนไปกับกาลเวลา ประชาชนพึ่งหมอและโรงพยาบาลมากขึ้น จึงทำให้ขาดการดูแลสุขภาพแบบการพึ่งตนเอง
ดังนั้น กลุ่มผู้สูงอายุ ม.1 บ้านกาหลง ต.กาหลง จึงได้ทำโครงการ ยาหม่องสมุนไพรเพื่อสุขภาพ โดยการจัดหาวิทยากร มาอบรมการทำผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ จากสมุนไพรเพื่อใช้ในการดูแลสุขภาพของตนเองและบุคคลในครองครัวต่อไป

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดจำนวนวันที่ค่า PM2.5 เกินค่ามาตรฐานในรอบปี

จำนวนวันที่ค่า PM2.5 เกินค่ามาตรฐานในรอบปี

60.00 1.00
2 เพื่อเพิ่มประชาชนที่มีพฤติกรรมการป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพจาก PM2.5

ร้อยละของประชาชนที่มีพฤติกรรมการป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพจาก PM2.5

20.00 1.00
3 เพื่อลดครัวเรือนที่มีความจำเป็นต้องเผาขยะ เศษวัสดุ หรือซากวัสดุการเกษตร

ร้อยละของครัวเรือนที่มีความจำเป็นต้องเผาขยะ เศษวัสดุ หรือซากวัสดุการเกษตร

50.00 1.00
4 เพื่อลดจำนวนจุดความร้อน (Hot spot) ในพื้นที่ในรอบปี

จำนวนจุดความร้อน (Hot spot) ในพื้นที่ในรอบปี (พื้นที่ป่า พื้นที่เกษตร พื้นที่ริมทางหลวง (50 เมตร) พื้นที่ชุมชน)

30.00 1.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/09/2024

กำหนดเสร็จ 31/10/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรมการทำยาหม่องสมุนไพร

ชื่อกิจกรรม
อบรมการทำยาหม่องสมุนไพร
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-ค่าวิทยากร 600 บาท จำนวน 3 คน  เป็นเงิน  1,800 บาท -ค่าอาหารว่าง 25 บาท จำนวน 50 คน  เป็นเงิน 1,250 บาท -ค่าวัสดุ 115 บาท  จำนวน  50 คน  เป็นเงิน  5,750 บาท -ค่าป้ายไวนิล + สติกเกอร์  เป็นเงิน 1,200 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กันยายน 2567 ถึง 31 ตุลาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้สูงอายุรู้จักใช้สมุนไพรในการดำรงชีวิตประจำวัน/ลดภาระค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปโรงพยาบาล และรู้จักการใช้สมุนไพรรักษา

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
10000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 10,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ผู้สูงอายุมีความสนใจ และตระหนักถึงความสำคัญเกี่ยวกับสมุนไพร มาใช้ประโยชน์ ในการทำผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เพื่อนำไปใช้ภายในครัวเรือน
2. เพื่อให้ผู้สูงอายุดูแลสุขภาพของตนเองและคนใกล้ตัวได้อย่างปลอดภัย
3.ผู้สูงอายุได้มียาหม่องสมุนไพร ไว้ใช้ในการทา ถู นวด ในเวลาที่ปวดเมื่อย
4. ผู้สูงอายุได้รวมกลุ่มทำกิจกรรม เพื่อให้เกิดผลผลิตและใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ต่อไป


>