กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองพัทลุง ปีงบประมาณ2568

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง

คณะอนุกรรมการฝ่ายเลขานุการ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองพัทลุง

เทศบาลเมืองพัทลุง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละเงินคงเหลือสะสมของกองทุนสุขภาพตำบล(เงินคงเหลือเทียบกับรายรับปีล่าสุด)

 

3.00
2 จำนวนโครงการที่สามารถติดตามและรายงานผลการดำเนินงานได้สำเร็จ(โครงการ)

 

75.00
3 จำนวนคณะกรรมการบริหารฯได้รับการพัฒนาศักยภาพ เรื่อง ความเข้าใจจุดมุ่งหมายกองทุน ประกาศ ระเบียบ และการทำโครงการด้านสุขภาพ(คน)

 

15.00
4 จำนวนกลุ่มประชาชน ชมรมและหน่วยงานภายนอกที่สามารถรับงบประมาณ (กลุ่ม/หน่วยงาน)

 

46.00
5 ร้อยละของโครงการ ที่มีการสรุปงาน ส่งรายงาน และปิดโครงการ ภายในปีงบประมาณ

 

85.00
6 จำนวนครั้งของประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ (ปีที่ผ่านมา)

 

5.00

1 ร้อยละเงินคงเหลือสะสมของกองทุนสุขภาพตำบล(เงินคงเหลือเทียบกับรายรับปีล่าสุด)3.00

2 จำนวนโครงการที่สามารถติดตามและรายงานผลการดำเนินงานได้สำเร็จ(โครงการ)75.00

3 จำนวนคณะกรรมการบริหารฯได้รับการพัฒนาศักยภาพ เรื่อง ความเข้าใจจุดมุ่งหมายกองทุน ประกาศ ระเบียบ และการทำโครงการด้านสุขภาพ(คน)15.00

4 จำนวนกลุ่มประชาชน ชมรมและหน่วยงานภายนอกที่สามารถรับงบประมาณ (กลุ่ม/หน่วยงาน) 46.00

5 ร้อยละของโครงการ ที่มีการสรุปงาน ส่งรายงาน และปิดโครงการ ภายในปีงบประมาณ 85.00

6 จำนวนครั้งของประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ (ปีที่ผ่านมา)5.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้เงินกองทุนฯ ให้แก่โครงการแก่ผู้รับทุน

กองทุนสุขภาพตำบลสามารถบริหารสนับสนุนเงินแก่ผู้รับทุนไม่น้อยกว่า 90 %

3.00 2.50
2 เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน

มีจำนวนคณะกรรมการบริหารฯได้รับการพัฒนาศักยภาพฯ โครงการด้านสุขภาพ(คน)

15.00 18.00
3 เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนทั่วไปสามารถขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพตำบล

จำนวนกลุ่มประชาชน ชมรมและหน่วยงานภายนอกที่ได้รับงบประมาณสนับสนุนโครงการ(กลุ่ม/หน่วยงาน)

46.00 50.00
4 เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการที่ดีและมีรายงานผลการดำเนินงานดี

จำนวนโครงการที่สามารถติดตามและรายงานผลการดำเนินงานได้สำเร็จ(โครงการ)

75.00 80.00
5 เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการ ที่มีการส่งผลงานและส่งรายงาน ตรงตามเวลา

ร้อยละของโครงการ ที่มีการสรุปงาน ส่งรายงาน และปิดโครงการ ภายในกำหนด เพิ่มขึ้น

85.00 90.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 50

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2024

กำหนดเสร็จ 30/09/2025

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุม

ชื่อกิจกรรม
ประชุม
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ค่าตอบแทนการประชุมคณะกรรมการ/ที่ปรึกษาคนละ400บาท/ครั้ง อย่างน้อยปีละ 4 ครั้ง เป็นเงิน 40,000 บาท

2.ค่าตอบแทนการประชุมคณะอนุกรรมการฝ่ายต่างๆ คนละ300บาท/ครั้ง อย่างน้อยปีละ 4 ครั้ง เป็นเงิน 29,000 บาท

  1. ค่าตอบแทนการประชุมบุุคคลภายนอกที่มีส่วนเกี่ยวข้อง คนละ200บาท/ครั้ง เป็นเงิน8,000 บาท

  2. ค่าตอบแทนการลงพื้นที่ติดตาม ประเมินผลคนละ100บาท/ครั้งเป็นเงิน 5,200 บาท

  3. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มในการประชุม คนละ 30 บาท/มื้อเป็นเงิน 15,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผลผลิค  คณะกรรมการ/อนุกรรมการเข้าร่วมประชุม ผลลัพธ์  - คณะกรรมการสามารถอนุมัติโครงการได้ตรงตามวัตถุประสงค์
             - มีการบริหารงบประมาณได้อย่างมีประสิทธิภาพ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
97200.00

กิจกรรมที่ 2 การจัดซื้้อ จ้าง

ชื่อกิจกรรม
การจัดซื้้อ จ้าง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.เครื่องคอมพิวเตอร์สำหรับประมวลผล แบบที่ 1 จำนวน 1 เครื่อง ราคา 25,000 บาท

2.เครื่องพิมพ์ multifunction แบบฉีดหมึกพิมพ์ พร้อมติดตั้งหมึกพิมพ์พิมพ์ (Ink TankPrinter)จำนวน 1 เครื่อง ราคา 10,000 บาท

3.เครื่องสำรองไฟ ขนาด 800 VA จำนวน 1 เครื่อง เป็นเงิน 3,000 บาท

4.ค่าจ้างถ่ายเอกสารเป็นเงิน 15,765 บาท

5.ค่าวัสดุสำนักงาน และวัสดุคอมพิวเตอร์ เป็นเงิน15,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
6 มกราคม 2568 ถึง 15 กันยายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.มีวัสดุอุปกรณ์เพียงพอ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
68765.00

กิจกรรมที่ 3 การอบรม การเขียนโครงการ การรายงานผล การติดตามผล การใช้งานโปรแกรมที่ สปสช.กำหนด

ชื่อกิจกรรม
การอบรม การเขียนโครงการ การรายงานผล การติดตามผล การใช้งานโปรแกรมที่ สปสช.กำหนด
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ค่าสมนาคุณวิทยากร เป็นเงิน 5,400 บาท
2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมอบรมและผู้ที่เกี่ยวข้อง มื้อละ 30 บาท/คน เป็นเงิน 3,750 บาท
3. ค่าอาหารกลางวัน มื้อละ 60 บาท/คนเป็นเงิน 9,000 บาท
4.ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการอบรมเป็นเงิน 3,000 บาท 5.ค่าเช่าห้องประชุมเป็นเงิน 7,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
22 มกราคม 2568 ถึง 29 สิงหาคม 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผลผลิต 1. มีผู้เข้าร่วมอบรมตามเป้าหมาย ผลลัพธ์ 1.ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถใช้งาน โปรแกรมที่ สปสช.กำหนดได้

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
28150.00

กิจกรรมที่ 4 การพัฒนาศักยภาพ การศึกษาดูงาน และการจัดทำแผน แก่คณะกรรมการ อนุกรรมการ และผู้ที่เกี่ยวข้อง

ชื่อกิจกรรม
การพัฒนาศักยภาพ การศึกษาดูงาน และการจัดทำแผน แก่คณะกรรมการ อนุกรรมการ และผู้ที่เกี่ยวข้อง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ค่าสมนาคุณวิทยากร เป็นเงิน 5,400 บาท

2.ค่าเช่าห้องประชุมเป็นเงิน 15,000 บาท

  1. ค่าเช่าเหมารถ เป็นเงิน 45,000 บาท

  2. ค่าเช่าที่พักเป็นเงิน 75,000 บาท

  3. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มเป็นเงิน 15,000 บาท

6.ค่าอาหารเป็นเงิน 90,000

7.ค่าของสมนาคุณ เป็นเงิน 4,500 บาท

8.ค่าน้ำมันเชื่อเพลิง 12,000 บาท

  1. ค่าป้ายไวนิลเป็นเงิน 1,000 บาท

  2. ค่าวัสดุอุปกรณ์ ที่เกี่ยวข้อง 10,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กรกฎาคม 2568 ถึง 19 กันยายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผลผลิต 1.คณะกรรมการ อนุกรรมการและผู้ที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมการพัฒนาศักยภาพ การจัดทำแผน และการศึกษาดูงาน ผลลัพธ์ 1.คณะกรรมการ อนุกรรมการ และผู้ที่เกี่ยวข้อง มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ 2.มีแผนพัฒนาสุขภาพ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองพัทลุง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
272900.00

กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมถอดบทเรียน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมถอดบทเรียน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ค่าสมนาคุณวิทยากร  เป็นเงิน 1800 บาท
2.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 2  มื้อ เป็นเงิน 3000 บาท 3.ค่าอาหารกลางวัน 1 มื้อ เป็นเงิน 3000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 สิงหาคม 2568 ถึง 25 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรมการถอดบทเรียน 2 เกิดการพัฒนาการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
7800.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 474,815.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

๑. สามารถมีแผนงานหรือโครงการ หรือกิจกรรมที่เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน ๒. ทำให้มีระเบียบเพื่อใช้เป็นแนวทางในการ ปฏิบัติงานและกระบวนการบริหารจัดการกองทุนมีประสิทธิภาพรวดเร็ว ๓. ทำให้มีการรับเงินการจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน และการจัดทําบัญชีเงินหรือทรัพย์สินของกองทุนหลักประกันสุขภาพ ฯ เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด ๔. เพื่อให้หน่วยงาน หรือกลุ่มหรือองค์กรที่ได้รับอนุมัติงบประมาณดำเนินงานเป็นไปตามแผนงานโครงการที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ และตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพกำหนด ๕. สรุปผลการดำเนินงานการรับ - จ่าย และเงินคงเหลือของ กองทุนฯ มีความถูกต้องสมบูรณ์ ๖. ประชาชนเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ


>