โครงการพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองพัทลุง ปีงบประมาณ2568
ชื่อโครงการ | โครงการพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองพัทลุง ปีงบประมาณ2568 |
รหัสโครงการ | 2568-L7572-04-001 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 4 สนับสนุนการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | สำนักงานเลขาฯกองทุน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | คณะอนุกรรมการฝ่ายเลขานุการ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองพัทลุง |
วันที่อนุมัติ | 27 กันยายน 2567 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 474,815.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสาวเพ็ญนภา บุญยก |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลคูหาสวรรค์ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | 50 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | ร้อยละเงินคงเหลือสะสมของกองทุนสุขภาพตำบล(เงินคงเหลือเทียบกับรายรับปีล่าสุด) | 3.00 | ||
2 | จำนวนโครงการที่สามารถติดตามและรายงานผลการดำเนินงานได้สำเร็จ(โครงการ) | 75.00 | ||
3 | จำนวนคณะกรรมการบริหารฯได้รับการพัฒนาศักยภาพ เรื่อง ความเข้าใจจุดมุ่งหมายกองทุน ประกาศ ระเบียบ และการทำโครงการด้านสุขภาพ(คน) | 15.00 | ||
4 | จำนวนกลุ่มประชาชน ชมรมและหน่วยงานภายนอกที่สามารถรับงบประมาณ (กลุ่ม/หน่วยงาน) | 46.00 | ||
5 | ร้อยละของโครงการ ที่มีการสรุปงาน ส่งรายงาน และปิดโครงการ ภายในปีงบประมาณ | 85.00 | ||
6 | จำนวนครั้งของประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ (ปีที่ผ่านมา) | 5.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
1 ร้อยละเงินคงเหลือสะสมของกองทุนสุขภาพตำบล(เงินคงเหลือเทียบกับรายรับปีล่าสุด)3.00
2 จำนวนโครงการที่สามารถติดตามและรายงานผลการดำเนินงานได้สำเร็จ(โครงการ)75.00
3 จำนวนคณะกรรมการบริหารฯได้รับการพัฒนาศักยภาพ เรื่อง ความเข้าใจจุดมุ่งหมายกองทุน ประกาศ ระเบียบ และการทำโครงการด้านสุขภาพ(คน)15.00
4 จำนวนกลุ่มประชาชน ชมรมและหน่วยงานภายนอกที่สามารถรับงบประมาณ (กลุ่ม/หน่วยงาน) 46.00
5 ร้อยละของโครงการ ที่มีการสรุปงาน ส่งรายงาน และปิดโครงการ ภายในปีงบประมาณ 85.00
6 จำนวนครั้งของประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ (ปีที่ผ่านมา)5.00
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้เงินกองทุนฯ ให้แก่โครงการแก่ผู้รับทุน กองทุนสุขภาพตำบลสามารถบริหารสนับสนุนเงินแก่ผู้รับทุนไม่น้อยกว่า 90 % |
3.00 | 2.50 |
2 | เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน มีจำนวนคณะกรรมการบริหารฯได้รับการพัฒนาศักยภาพฯ โครงการด้านสุขภาพ(คน) |
15.00 | 18.00 |
3 | เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนทั่วไปสามารถขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพตำบล จำนวนกลุ่มประชาชน ชมรมและหน่วยงานภายนอกที่ได้รับงบประมาณสนับสนุนโครงการ(กลุ่ม/หน่วยงาน) |
46.00 | 50.00 |
4 | เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการที่ดีและมีรายงานผลการดำเนินงานดี จำนวนโครงการที่สามารถติดตามและรายงานผลการดำเนินงานได้สำเร็จ(โครงการ) |
75.00 | 80.00 |
5 | เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการ ที่มีการส่งผลงานและส่งรายงาน ตรงตามเวลา ร้อยละของโครงการ ที่มีการสรุปงาน ส่งรายงาน และปิดโครงการ ภายในกำหนด เพิ่มขึ้น |
85.00 | 90.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 474,815.00 | 0 | 0.00 | 474,815.00 | |
1 ต.ค. 67 - 30 ก.ย. 68 | ประชุม | 0 | 97,200.00 | - | - | ||
6 ม.ค. 68 - 15 ก.ย. 68 | การจัดซื้้อ จ้าง | 0 | 68,765.00 | - | - | ||
22 ม.ค. 68 - 29 ส.ค. 68 | การอบรม การเขียนโครงการ การรายงานผล การติดตามผล การใช้งานโปรแกรมที่ สปสช.กำหนด | 0 | 28,150.00 | - | - | ||
1 ก.ค. 68 - 19 ก.ย. 68 | การพัฒนาศักยภาพ การศึกษาดูงาน และการจัดทำแผน แก่คณะกรรมการ อนุกรรมการ และผู้ที่เกี่ยวข้อง | 0 | 272,900.00 | - | - | ||
1 ส.ค. 68 - 25 ก.ย. 67 | กิจกรรมถอดบทเรียน | 0 | 7,800.00 | - | - | ||
รวมทั้งสิ้น | 0 | 474,815.00 | 0 | 0.00 | 474,815.00 |
๑. สามารถมีแผนงานหรือโครงการ หรือกิจกรรมที่เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน ๒. ทำให้มีระเบียบเพื่อใช้เป็นแนวทางในการ ปฏิบัติงานและกระบวนการบริหารจัดการกองทุนมีประสิทธิภาพรวดเร็ว ๓. ทำให้มีการรับเงินการจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน และการจัดทําบัญชีเงินหรือทรัพย์สินของกองทุนหลักประกันสุขภาพ ฯ เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด ๔. เพื่อให้หน่วยงาน หรือกลุ่มหรือองค์กรที่ได้รับอนุมัติงบประมาณดำเนินงานเป็นไปตามแผนงานโครงการที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ และตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพกำหนด ๕. สรุปผลการดำเนินงานการรับ - จ่าย และเงินคงเหลือของ กองทุนฯ มีความถูกต้องสมบูรณ์ ๖. ประชาชนเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 1 ต.ค. 2567 00:00 น.