กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาทับ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการความปลอดภัยในการบริโภคจากสารพิษตกค้างในเกษตรกร รพ.สต.นาทับ ปี 2568

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาทับ

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาทับ

พื้นที่รับผิดชอบ รพ.สต.นาทับ (หมู่ที่ 1 ,2,6,8,10,12,13,14 ตำบลนาทับ)

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนอนามัยและสิ่งแวดล้อม

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของประชาชนที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือดเกินมาตรฐานความปลอดภัย

 

10.00
2 ร้อยละของประชากรที่มีความเสี่ยงของสารเคมีตกค้างในกระแสเลือด

 

15.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มพื้นที่เกษตรกรปลอดภัยจากสารเคมี

ระดับสารเคมีในเลือดของเกษตรกรอยู่ในระดับที่ปกติ/ปลอดภัย ร้อยละ 40

10.00 15.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 02/12/2024

กำหนดเสร็จ 30/09/2025

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้เกษตรกรที่เข้าร่วม

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้เกษตรกรที่เข้าร่วม
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ป้ายไวนิลโครงการ 1.5*2 เมตร 1 ป้าย รวมเป็นเงิน 500 บาท

2.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม(ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่คณะทำงาน 28 คน) x คนละ 30 บาท x 1 มื้อ รวมเป็นเงิน 840 บาท

3.ค่าอาหารกลางวัน (ผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่คณะทำงาน 28 คน) x คนละ 70 บาท x 1 มื้อ รวมเป็นเงิน 1,960 บาท

4.ค่าวิทยากร 1 คน จำนวน 4 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 600 บาท รวมเป็นเงิน 2,400 บาท

5.ค่าวัสดุเครื่องเขียนและอุปกรณ์

5.1 กระดาษ เอ4 1 รีม จำนวนเงิน 200 บาท

5.2 ปากกาแพ็คละ จำนวนเงิน 200 บาท

5.3 แฟ้มเอกสาร แฟ้มละ 40 * 25 คนจำนวนเงิน 1,000 บาท

5.4 สมุดบันทึก เล่มละ 20 บาท *25 คน จำนวนเงิน 500 บาท

(ทุกรายการในกิจกรรมเดียวกันสามารถถัวเฉลี่ยกันได้)

ระยะเวลาดำเนินงาน
6 มกราคม 2568 ถึง 31 มีนาคม 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เกษตรกรได้รับการตรวจหาสารเคมีตกค้างในเลือดและได้รับคำแนะนำที่ถูกต้อง ลดภาวะการเกิดอันตรายจากสารพิษตกค้างในร่างกาย

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
7600.00

กิจกรรมที่ 2 เกษตรกรเจาะเลือดตรวจหาสารพิษตกค้าง ครั้งที่ 1

ชื่อกิจกรรม
เกษตรกรเจาะเลือดตรวจหาสารพิษตกค้าง ครั้งที่ 1
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.กระดาษทดสอบโคลีนเอสเตอเรสจำนวนเงิน 950 บาท

2.แผ่นสไลน์ 1 กล่องจำนวนเงิน 120 บาท

3.ถุงมือ 2 กล่อง กล่องละ 220 บาท จำนวนเงิน 440 บาท

4.หลอด tube 1 กล่อง จำนวนเงิน 200 บาท

5.สำลีแอลกอฮอล์ 1 กล่อง จำนวนเงิน 180 บาท

6.แท่นเสียบ 2 อัน อันละ 200 บาท จำนวนเงิน 400 บาท

7.ดินน้ำมัน 5 ก้อน ก้อนละ 25 บาท จำนวนเงิน 125 บาท

(ทุกรายการในกิจกรรมเดียวกันสามารถถัวเฉลี่ยกันได้)

ระยะเวลาดำเนินงาน
6 มกราคม 2568 ถึง 31 มีนาคม 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เกษตรกรได้รับการตรวจหาสารเคมีตกค้างในเลือดและได้รับคำแนะนำที่ถูกต้อง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2415.00

กิจกรรมที่ 3 เกษตรกรเจาะเลือดตรวจหาสารพิษตกค้าง ครั้งที่ 2

ชื่อกิจกรรม
เกษตรกรเจาะเลือดตรวจหาสารพิษตกค้าง ครั้งที่ 2
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

เกษตรกรเจาะเลือดตรวจหาสารพิษตกค้าง ครั้งที่ 2

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤษภาคม 2568 ถึง 31 กรกฎาคม 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

กลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคที่เหมาะสม จนส่งผลให้ปริมาณสารเคมีที่ตกค้างในกระแสเลือดมีปริมาณที่เหมาะสม ไม่ก่อผลเสียต่อสุขภาพ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 4 คืนข้อมูลสู่ชุมชน

ชื่อกิจกรรม
คืนข้อมูลสู่ชุมชน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

แจ้งผลการดำเนินงานในที่ประชุม อสม./ ผู้นำชุมชน

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 สิงหาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

มีรายงานสรุปผลการดำเนินงานแจ้ง อสม./ผู้นำชุมชน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 10,015.00 บาท

หมายเหตุ :
ทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยระหว่างกิจกรรมได้

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1 เกษตรกรที่มีภาวะเสี่ยงต่อสารเคมีกำจัดศัตรูพืช ได้รับการตรวจคัดกรอง ได้รับคำแนะนำเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และส่งรักษาต่ออย่างทันท่วงที
2 เกษตรกรที่มีภาวะเสี่ยงต่อสารเคมีกำจัดศัตรูพืช ในระดับที่เสี่ยง มีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและดูแลตนเองให้ปลอดภัยจากสารเคมีมากขึ้น


>