กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก รหัส กปท. L6961

อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2568 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการรักน้อง ๆ ห่างไกลโรคพิษสุนัขบ้า ประจำปี 2568
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก
กลุ่มคน
นายพิทักศิษย์พานิชธนาคม ผู้อำนวยการกองสาธารณสุขฯ
นางสาวอรุณวาตี สิทธิเส็ม หัวหน้าฝ่ายบริการสาธารณสุข
นางสาวรอซีดาเจ๊ะแว พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ 064-0477513
นางสาวพนิดารัตนสุริยา พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ 0973452068
3.
หลักการและเหตุผล

โรคพิษสุนัขบ้าเป็นโรคที่มีอันตรายร้ายแรง เมื่อเป็นโรคแล้วไม่สามารถที่จะรักษาให้หายได้ ผู้ป่วยที่เป็นโรคจะต้องชีวิตทุกคน ซึ่งโรคมีพาหะที่นำโรคคือสัตว์ที่เลี้ยงลูกด้วยนม เช่นสุนัข แมว หนู เป็นต้น เมื่อคนไปสัมผัสสัตว์ที่เป็นโรคหรือถูกน้ำลายของสัตว์ที่เป็นโรคก็จะทำให้เชื้อโรคนั้นแพร่ติดต่อมาสู่คนได้ และสัตว์ที่เป็นโรค ก็ยังสามารถที่ติดต่อเชื้อโรคไปยังสัตว์ปกติที่ไม่เป็นโรคได้ โรคพิษสุนัขบ้ามักจะพบในช่วงฤดูร้อน คือ ตั้งแต่เดือน มีนาคม – มิถุนายน ของทุกปี สามารถควบคุมป้องกันได้แต่ไม่สามารถรักษาได้เมื่อมีอาการของโรค การป้องกันที่ดี คือ การระวังไม่ให้ถูกสัตว์กัดหรือถูกน้ำลายของสัตว์ รวมทั้งการพาสัตว์เลี้ยง เช่น สุนัข แมวและสัตว์ เลี้ยงลูกด้วยนม ไปรับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าซึ่ง นายแพทย์เฉลิมพล โอสถพรมมา ผู้อำนวยการสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 จังหวัดสงขลา กล่าวถึงสถานการณ์โรคพิษสุนัขบ้า จากระบบรายงานเฝ้าระวังโรค 506 ปีพ.ศ. 2561 - 2566 ประเทศไทยพบผู้ป่วย 34 ราย (ปี 2566 พบ 5 ราย) เสียชีวิตทั้ง 34 ราย สำหรับเขตสุขภาพที่ 12 ข้อมูลปี 2561 - 2566 พบผู้ป่วย 6 ราย (ปี 2566 พบ 1 ราย)เสียชีวิตทั้ง 6 ราย เป็นเพศชายทั้งหมด อายุระหว่าง 16 - 65 ปี โดยมีประวัติโดนสุนัขของตนเองและสุนัขไม่มีเจ้าของกัด ผู้เสียชีวิตไม่ฉีดวัคซีนหลังโดนสุนัขกัด และข้อมูลจากนายสัตวแพทย์สมชวน รัตนมังคลานนท์ อธิบดีกรมปศุสัตว์ เปิดเผยถึงสถานการณ์โรคพิษสุนัขบ้า ประจำวันที่ 16 กันยายน 2567 ว่ามีการส่งตัวอย่างส่งตรวจสะสมปี 2567 จำนวน 4615 ตัวอย่าง ผลบวกสะสมจำนวน 225 ตัวอย่าง ชนิดสัตว์ที่เกิดโรค แบ่งเป็นสุนัข 193 โค 21 แมว 7 กระบือ 4 โดยมีพื้นที่ที่พบการเกิดโรค 10 จังหวัด 16 จุด ได้แก่ จังหวัดชลบุรี นครนายก บุรีรัมย์ สุรินทร์ อุบลราชธานี ศรีสะเกษ เชียงราย อุตรดิตถ์ พัทลุง และสงขลา ดังนั้นเพื่อเป็นการส่งเสริมการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลกได้เล็งเห็นความสำคัญของการดำเนินงานอบรมและรณรงค์ให้ความรู้ให้แก่นักเรียนและเยาวชนในพื้นที่ ในเรื่องการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ซึ่งเป็นกิจกรรมที่สามารถกระตุ้นให้นักเรียนที่มีสุนัข แมว และสัตว์เลี้ยงที่เลี้ยงลูกด้วยนม ที่มีอยู่ในความดูแล หันมาตระหนักถึงปัญหาของโรคดังกล่าว รวมทั้งส่งเสริมให้นักเรียนลดความเสี่ยงของการถูกสุนัข แมวและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่สงสัยหรือเป็นโรคพิษสุนัขบ้ากัดและป้องกันไม่ให้มีผู้เสียชีวิตด้วยโรคนี้และมีความรู้ ทัศนคติและการปฏิบัติที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคพิษสุนัขบ้าต่อไป ด้วยเหตุนี้ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลกจึงกำหนดจัดกิจกรรมโครงการรักน้องๆห่างไกลโรคพิษสุนัขบ้า ประจำปี 2568 นี้ขึ้น

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เรื่องการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าและนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้
    ตัวชี้วัด : ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เรื่องการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าและนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้ โดยการสังเกตพฤติกรรมและการตอบคำถาม
    ขนาดปัญหา 50.00 เป้าหมาย 80.00
  • 2. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมตระหนักถึงปัญหาโรคพิษสุนัขบ้า สามารถดูแลสัตว์เลี้ยงของตนได้อย่างถูกวิธีปลอดภัยจากโรคพิษสุนัขบ้า
    ตัวชี้วัด : ผู้เข้ารับการอบรมตระหนักถึงปัญหาโรคพิษสุนัขบ้า สามารถดูแลสัตว์เลี้ยง และตนเองให้ปลอดภัยจากโรคพิษสุนัขบ้าได้อย่างถูกวิธี จากการตอบแบบประเมิน
    ขนาดปัญหา 60.00 เป้าหมาย 80.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. อบรมให้ความรู้เรื่องโรคพิษสุนัขบ้า
    รายละเอียด

    กลุ่มเป้าหมาย ดังนี้
    - แกนนำนักเรียนโรงเรียนละ 15 คน ในเขตเทศบาล 7 โรงเรียน (ในช่วงชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-5) จำนวน 105 คน
    - คณะทำงาน 15 คน
    รวม 120 คน
    รายละเอีดกิจกรรม
    - จัดทำหนังสือเชิญตัวแทนแกนนำนักเรียนโรงเรียนละ 15 คน ในเขตเทศบาล 7 โรงเรียน (ในช่วงชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-5)
    - จัดกิจกรรมบรรยายให้ความรู้และรณรงค์เรื่องการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า เป็นระยะเวลาครึ่งวัน
    กำหนดการ
    08.30 - 09.00 น. ลงทะเบียน /ทำแบบทดสอบความรู้ ความเข้าใจ ก่อนเริ่มการอบรมและรณรงค์ป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า
    09.00 - 12.00 น. อบรมให้ความรู้ในหัวข้อ โรคพิษสุนัขบ้าคืออะไร/สถานการณ์โรคพิษสุนัขบ้าในปัจจุบัน/สัตว์ที่เป็นโรคพิษสุนัขบ้าจะมีอาการอย่างไร/ประเภทสัตว์ต่างๆที่เป็นพาหะนำโรค/คนติดโรคพิษสุนัขบ้าจากทางใด /อาการของคนที่ติดเชื้อโรคพิษสุนัขบ้า/ข้อควรปฏิบัติภายหลังจากถูกสุนัขบ้าหรือสัตว์ที่สงสัยว่าบ้ากัด/วัคซีนที่ใช้ป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า /กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ หลังการอบรมรณ์ป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า / แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ซักถาม ตอบคำถามเพื่อประเมินความรู้ความเข้าใจหลังการอบรม / ทำแบบทดสอบความรู้ ความเข้าใจ หลังการอบรมและรณรงค์ป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า
    - ติดตามและประเมินผลโครงการ และสรุปและรายงานผลโครงการ
    งบประมาณ
    - ค่าตอบแทนวิทยากรบรรยาย 600 x 3 ชั่วโมง เป็นเงิน 1,800 บาท
    - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 30 บาท x 120 คน เป็นเงิน 3,600 บาท
    - ค่าป้ายโครงการเป็นเงิน 1,090 บาท
    - ค่าจัดซื้อวัสดุอุกรณ์ที่ใช้สำหรับการอบรม ได้แก่ สมุด ปากกา ฯลฯ เป็นเงิน 3,000 บาท
    หมายเหตุ สามารถถัวเฉลี่ยได้ทุกรายการ

    งบประมาณ 9,490.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 มกราคม 2568 ถึง 31 มีนาคม 2568

8.
สถานที่ดำเนินการ

เขตเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 9,490.00 บาท

หมายเหตุ : สามารถถัวเฉลี่ยได้ทุกรายการ

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  1. ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เรื่องการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าและนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้อง
  2. ผู้เข้ารับการอบรมตระหนักรับทราบถึงปัญหาโรคพิษสุนัขบ้า สามารถดูแลสัตว์เลี้ยงของตนได้อย่างถูกวิธีปลอดภัยจากโรคพิษสุนัขบ้า
11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก รหัส กปท. L6961

อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2568
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก รหัส กปท. L6961

อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 9,490.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................