กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสตูล รหัส กปท. L8008

อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2568 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการบริหารและพัฒนาศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล ประจำปีงบประมาณ 2568
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
สำนักงานกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล
กลุ่มคน
1.เลขานุการกองทุนฯ
2.ผู้ช่วยเลขานุการกองทุนฯ
3.เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานกองทุนฯ
3.
หลักการและเหตุผล

กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ (The Community Health Security Fund)"หรือ กองทุนสุขภาพตำบล" ปัจจุบันเปลี่ยนเป็น “กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น” เรียกโดยย่อว่า “กปท.”เป็นกองทุนที่เกิดขึ้นตามพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 นับเป็นนวัตกรรมทางสังคมที่สำคัญในระบบสุขภาพของประเทศไทย มุ่งเน้นการส่งเสริมการมีส่วนร่วมดูแลสุขภาพของประชาชนจากหลายภาคส่วนในสังคม โดยมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นกลไกสำคัญในการประสานหน่วยงาน องค์กร และภาคีเครือข่ายในพื้นที่เข้ามาร่วมค้นหาปัญหาและความต้องการของประชาชน ร่วมวางแผน และส่งเสริมให้เกิดการร่วมดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพ สามารถติดตามประเมินผลการดำเนินงานให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมกับประชาชนกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ นอกจากมีเจตนารมณ์ในการสร้างการมีส่วนร่วมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้เข้ามามีบทบาทในการดูแลสุขภาพของประชาชนในพื้นที่แล้ว ยังสนับสนุนให้ประชาชนได้แสดงบทบาทในการพึ่งตนเองด้านสุขภาพ และส่งเสริมให้บุคลากรด้านสาธารณสุขในพื้นที่ได้แสดงบทบาทในการสนับสนุนประชาชนในการดูแลสุขภาพตนเอง ทั้งนี้ยังส่งเสริมให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องเกิดความตระหนักต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชน สามารถดูแลสุขภาพได้ด้วยตนเองและการสร้างกลไกในสังคมที่จะต้องเข้ามาร่วมกันแก้ปัญหาต่างๆ ที่มีผลต่อสุขภาพให้ลุล่วง
สำหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในบทบัญญัติของพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2545 มาตรา13(3) มาตรา 18(4) (8) (9) และมาตรา 47 ได้กำหนดให้คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สนับสนุน ประสาน และกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นผู้ดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ได้ตามความพร้อม ความเหมาะสม และความต้องการ เพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพแห่งชาติให้แก่บุคคลในพื้นที่ โดยให้ได้รับค่าใช้จ่ายจากกองทุนรวมถึงสนับสนุนและกำหนดหลักเกณฑ์ให้องค์กรชุมชน องค์กรเอกชน และภาคเอกชนที่ไม่มีวัตถุประสงค์เพื่อแสวงหากำไร ดำเนินงาน และบริหารจัดการเงินทุนในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ได้ตามความพร้อม ความเหมาะสม และความต้องการโดยส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมเพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพแห่งชาติให้แก่บุคคลในพื้นที่ การดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่เริ่มดำเนินการนับตั้งแต่ ได้มีประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่องการกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์การบริหารส่วนตำบลหรือเทศบาลดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2549 ซึ่งในปีแรกมีองค์การบริหารส่วนตำบลและเทศบาลนำร่องจัดตั้งกองทุนรวม 888 แห่ง เมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2550 ณ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นได้จัดให้มีพิธีลงนามบันทึกความร่วมมือเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเรื่องการบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพและสวัสดิการชุมชนในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ระหว่าง สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงมหาดไทย สมาคมองค์การบริหารส่วนจังหวัดแห่งประเทศไทย สมาคมสันติบาตเทศบาลแห่งประเทศไทย และสมาคมองค์การบริหารส่วนตำบลแห่งประเทศไทย ซึ่งทั้งเจ็ดฝ่ายจะร่วมมือกันเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพและสวัสดิการชุมชนในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ โดยเน้นเรื่องการแพทย์ฉุกเฉิน การสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพ และการดำรงชีวิต ตลอดจนส่งเสริมให้กลุ่มแม่และเด็ก กลุ่มผู้สูงอายุ ผู้ประกอบอาชีพที่มีความเสี่ยง กลุ่มคนพิการ กลุ่มผู้ด้อยโอกาส และกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่อยู่ในเขตพื้นที่ มีสวัสดิการชุมชนรองรับและสามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึง โดยการบริหารจัดการอย่างมีส่วนร่วมของบุคคลในพื้นที่
กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูลร่วมสมทบงบประมาณไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ของงบประมาณที่ได้รับการจัดสรรจากสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และ ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2567ได้กำหนดวัตถุประสงค์ของกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการ หรือสถานบริการ หรือหน่วยงานสาธารณสุข หรือหน่วยงานอื่น หรือสนับสนุนและส่งเสริมให้กลุ่มหรือองค์กรประชาชนดำเนินกิจกรรมด้านสาธารณสุขในพื้นที่ เพื่อให้บุคคลที่อยู่ในพื้นที่ สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยส่งเสริมกระบวนการมี ส่วนร่วมตามความพร้อม ความเหมาะสม และความต้องการของประชาชนในพื้นที่โดยเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนหรือส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน หรือโครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ ดังนี้ “การจัดบริการสาธารณสุข” หมายความว่า การจัดบริการในชุมชน เพื่อการสร้างเสริมสุขภาพการป้องกันโรค การฟื้นฟูสมรรถภาพ และการรักษาพยาบาลปฐมภูมิเชิงรุก ที่จำเป็นต่อสุขภาพและดำรงชีวิตนอกเหนือจากการจัดบริการปกติของหน่วยบริการ “การสร้างเสริมสุขภาพ” หมายความว่า บริการที่มางกระทำเพื่อให้บุคคลมีสุขภาพทางกายและจิตใจที่เข้มแข็ง สมบูรณ์ มีคุณภาพชีวิตที่ดี รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ “การป้องกันโรค” หมายความว่า บริการที่มุ่งกระทำเพื่อไม่ให้เกิดการเจ็บป่วยหรือเป็นโรคและการป้องกันไม่ให้กลับเป็นซ้ำในกรณีที่หายจากการเจ็บป่วยหรือเป็นโรคแล้ว รวมถึงกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการป้องกันโรค “การฟื้นฟูสมรรถภาพ” หมายความว่า บริการที่มุ่งกระทำเพื่อแก้ไขปัญหาความบกพร่องของร่างกายและจิตใจ ที่ยังไม่มีหรือสูญเสียไปให้เกิดขึ้น ให้สามารถเรียนรู้ มีคุณภาพชีวิตที่ดี และดำรงชีวิตในสังคมได้ รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการฟื้นฟูสมรรถภาพ “การรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก” หมายความว่า การจัดบริการหรือการจัดกิจกรรมสาธารณสุข ซึ่งเป็นการรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเบื้องต้นในชุมชนและนอกเหนือจากการจัดบริการปกติของหน่วยบริการ เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่เข้าถึงบริการมากขึ้นเพื่อให้การขับเคลื่อนงานกองทุนเป็นไปด้วยความเรียบร้อยตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูลจึงจัดทำโครงการบริหารและพัฒนาศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล ประจำปีงบประมาณ 2568

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. สนับสนุนงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูลเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค รักษาบริการปฐมภูมิเชิงรุกและฟื้นฟูสมมรถภาพตามชุดสิทธิประโยชน์
    ตัวชี้วัด : สนับสนุนงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูลให้กลุ่ม หน่วยงานต่างๆ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
    ขนาดปัญหา 111.00 เป้าหมาย 80.00
  • 2. ส่งเสริมให้เกิดนวตกรรมด้านสาธารณสุข
    ตัวชี้วัด : กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล มีนวตกรรมอย่างน้อย 1 ผลงาน ในปีงบประมาณ 2568
    ขนาดปัญหา 0.00 เป้าหมาย 1.00
  • 3. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล
    ตัวชี้วัด : มีช่องทางและข้อมูลข่าวสารในการเผยแพร่และประชาสัมพันธ์งานกองทุนฯ อย่างน้อย 3 ช่องทาง เช่น เว็บไซต์ เฟสบุ๊ค เสียงตามสาย จัดทำคู่มือการขอรับงบประมาณกองทุนฯหลักประกันสุขภาพ วีดีทัศน์แนะนำการดำเนินงานกองทุนฯ ฯลฯ
    ขนาดปัญหา 2.00 เป้าหมาย 3.00
  • 4. เสริมสร้างความรู้และทักษะการบริหารงบประมาณให้แก่คณะกรรมการกองทุนฯและผู้ขอรับงบประมาณกองทุนฯ
    ตัวชี้วัด : 4.1 กิจกรรมอบรมพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯ อย่างน้อย 1 ครั้ง 4.2 กิจกรรมอบรมพัฒนาศักยภาพผู้ขอรับงบประมาณกองทุน อย่างน้อย 1 ครั้ง
    ขนาดปัญหา 2.00 เป้าหมาย 3.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล ครั้งที่ 5/2567
    รายละเอียด

    1.ค่าตอบแทนในการประชุมกรรมการและที่ปรึกษากองทุนฯ จำนวน 21 คนๆละ 400 บาท เป็นเงิน 8,400บาท
    2.ค่าตอบแทนในการเข้าร่วมประชุมสำหรับเจ้าหน้าที่กองทุนฯ จำนวน 4 คนๆละ 400 บาท เป็นเงิน 1,600 บาท
    3.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มในการจัดประชุม จำนวน 35 คนๆละ 30 บาท จำนว 1 มื้อเป็นเงิน 1,050 บาท
    4.ค่าอาหารกลางวันและน้ำดื่ม จำนวน 25 คนๆละ70 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 1,750 บาท

    งบประมาณ 12,800.00 บาท
  • 2. ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล ครั้งที่ 1/2568
    รายละเอียด

    1.ค่าตอบแทนในการประชุมกรรมการและที่ปรึกษากองทุนฯ จำนวน 21 คนๆละ 400 บาท เป็นเงิน 8,400บาท
    2.ค่าตอบแทนในการเข้าร่วมประชุมสำหรับเจ้าหน้าที่กองทุนฯ จำนวน 4 คนๆละ 400 บาท เป็นเงิน 1,600 บาท
    3.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มในการจัดประชุม จำนวน 35 คนๆละ 30 บาท จำนว 1 มื้อเป็นเงิน 1,050 บาท
    4.ค่าอาหารกลางวันและน้ำดื่ม จำนวน 25 คนๆละ70 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 1,750 บาท

    งบประมาณ 12,800.00 บาท
  • 3. ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล ครั้งที่ 2/2568
    รายละเอียด

    1.ค่าตอบแทนในการประชุมกรรมการและที่ปรึกษากองทุนฯ จำนวน 21 คนๆละ 400 บาท เป็นเงิน 8,400บาท
    2.ค่าตอบแทนในการเข้าร่วมประชุมสำหรับเจ้าหน้าที่กองทุนฯ จำนวน 4 คนๆละ 400 บาท เป็นเงิน 1,600 บาท
    3.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มในการจัดประชุม จำนวน 35 คนๆละ 30 บาท จำนว 1 มื้อเป็นเงิน 1,050 บาท
    4.ค่าอาหารกลางวันและน้ำดื่ม จำนวน 25 คนๆละ70 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 1,750 บาท

    งบประมาณ 12,800.00 บาท
  • 4. ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล ครั้งที่ 3/2568
    รายละเอียด

    1.ค่าตอบแทนในการประชุมกรรมการและที่ปรึกษากองทุนฯ จำนวน 21 คนๆละ 400 บาท เป็นเงิน 8,400บาท
    2.ค่าตอบแทนในการเข้าร่วมประชุมสำหรับเจ้าหน้าที่กองทุนฯ จำนวน 4 คนๆละ 400 บาท เป็นเงิน 1,600 บาท
    3.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มในการจัดประชุม จำนวน 35 คนๆละ 30 บาท จำนว 1 มื้อเป็นเงิน 1,050 บาท
    4.ค่าอาหารกลางวันและน้ำดื่ม จำนวน 25 คนๆละ70 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 1,750 บาท

    งบประมาณ 12,800.00 บาท
  • 5. ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล ครั้งที่ 4/2568
    รายละเอียด

    1.ค่าตอบแทนในการประชุมกรรมการและที่ปรึกษากองทุนฯ จำนวน 21 คนๆละ 400 บาท เป็นเงิน 8,400บาท
    2.ค่าตอบแทนในการเข้าร่วมประชุมสำหรับเจ้าหน้าที่กองทุนฯ จำนวน 4 คนๆละ 400 บาท เป็นเงิน 1,600 บาท
    3.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มในการจัดประชุม จำนวน 35 คนๆละ 30 บาท จำนว 1 มื้อเป็นเงิน 1,050 บาท
    4.ค่าอาหารกลางวันและน้ำดื่ม จำนวน 25 คนๆละ70 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 1,750 บาท

    งบประมาณ 12,800.00 บาท
  • 6. ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล ครั้งที่ 5/2568
    รายละเอียด

    1.ค่าตอบแทนในการประชุมกรรมการและที่ปรึกษากองทุนฯ จำนวน 21 คนๆละ 400 บาท เป็นเงิน 8,400บาท
    2.ค่าตอบแทนในการเข้าร่วมประชุมสำหรับเจ้าหน้าที่กองทุนฯ จำนวน 4 คนๆละ 400 บาท เป็นเงิน 1,600 บาท
    3.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มในการจัดประชุม จำนวน 35 คนๆละ 30 บาท จำนว 1 มื้อเป็นเงิน 1,050 บาท
    4.ค่าอาหารกลางวันและน้ำดื่ม จำนวน 25 คนๆละ70 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 1,750 บาท

    งบประมาณ 12,800.00 บาท
  • 7. ประชุมคณะอนุกรรมการฝ่ายกลั่นกรองโครงการ ครั้งที่ 4/2567
    รายละเอียด

    1.ค่าตอบแทนอนุกรรมการ จำนวน 7 คนๆละ 300 บาทเป็นเงิน 2,100 บาท
    2.ค่าตอบแทนในการประชุมสำหรับเจ้าหน้าที่กองทุนฯ เข้าร่วมประชุม จำนวน 3 คนๆละ 300 บาท เป็นเงิน 900 บาท
    3.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มในการจัดประชุม จำนวน 25 คนๆละ 30 บาท จำนว 1 มื้อเป็นเงิน 750 บาท
    4.ค่าอาหารกลางวันและน้ำดื่ม จำนวน 10 คนๆละ70 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน700 บาท

    งบประมาณ 4,450.00 บาท
  • 8. ประชุมคณะอนุกรรมการฝ่ายกลั่นกรองโครงการ ครั้งที่ 1/2568
    รายละเอียด

    1.ค่าตอบแทนอนุกรรมการ จำนวน 7 คนๆละ 300 บาทเป็นเงิน 2,100 บาท
    2.ค่าตอบแทนในการประชุมสำหรับเจ้าหน้าที่กองทุนฯ เข้าร่วมประชุม จำนวน 3 คนๆละ 300 บาท เป็นเงิน 900 บาท
    3.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มในการจัดประชุม จำนวน 25 คนๆละ 30 บาท จำนว 1 มื้อเป็นเงิน 750 บาท
    4.ค่าอาหารกลางวันและน้ำดื่ม จำนวน 10 คนๆละ70 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 700 บาท

    งบประมาณ 4,450.00 บาท
  • 9. ประชุมคณะอนุกรรมการฝ่ายกลั่นกรองโครงการ ครั้งที่ 2/2568
    รายละเอียด

    1.ค่าตอบแทนอนุกรรมการ จำนวน 7 คนๆละ 300 บาทเป็นเงิน 2,100 บาท
    2.ค่าตอบแทนในการประชุมสำหรับเจ้าหน้าที่กองทุนฯ เข้าร่วมประชุม จำนวน 3 คนๆละ 300 บาท เป็นเงิน 900 บาท
    3.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มในการจัดประชุม จำนวน 25 คนๆละ 30 บาท จำนว 1 มื้อเป็นเงิน 750 บาท
    4.ค่าอาหารกลางวันและน้ำดื่ม จำนวน 10 คนๆละ70 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน700 บาท

    งบประมาณ 4,450.00 บาท
  • 10. ประชุมคณะอนุกรรมการฝ่ายกลั่นกรองโครงการ ครั้งที่ 3/2568
    รายละเอียด

    1.ค่าตอบแทนอนุกรรมการ จำนวน 7 คนๆละ 300 บาทเป็นเงิน 2,100 บาท
    2.ค่าตอบแทนในการประชุมสำหรับเจ้าหน้าที่กองทุนฯ เข้าร่วมประชุม จำนวน 3 คนๆละ 300 บาท เป็นเงิน 900 บาท
    3.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มในการจัดประชุม จำนวน 25 คนๆละ 30 บาท จำนว 1 มื้อเป็นเงิน 750 บาท
    4.ค่าอาหารกลางวันและน้ำดื่ม จำนวน 10 คนๆละ70 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน700 บาท

    งบประมาณ 4,450.00 บาท
  • 11. ประชุมคณะอนุกรรมการฝ่ายกลั่นกรองโครงการ ครั้งที่ 4/2568
    รายละเอียด

    1.ค่าตอบแทนอนุกรรมการ จำนวน 7 คนๆละ 300 บาทเป็นเงิน 2,100 บาท
    2.ค่าตอบแทนในการประชุมสำหรับเจ้าหน้าที่กองทุนฯ เข้าร่วมประชุม จำนวน 3 คนๆละ 300 บาท เป็นเงิน 900 บาท
    3.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มในการจัดประชุม จำนวน 25 คนๆละ 30 บาท จำนว 1 มื้อเป็นเงิน 750 บาท
    4.ค่าอาหารกลางวันและน้ำดื่ม จำนวน 10 คนๆละ70 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน700 บาท

    งบประมาณ 4,450.00 บาท
  • 12. ประชุมคณะอนุกรรมการฝ่ายประเมินผลโครงการ ครั้งที่ 1/2567
    รายละเอียด

    1.ค่าตอบแทนในการประชุมคณะอนุกรรมการ จำนวน 15 คนๆละ 300 บาทเป็นเงิน 4,500 บาท
    2.ค่าตอบแทนในการเข้าร่วมประชุมสำหรับเจ้าหน้าที่กองทุนฯเข้าร่วมประชุม จำนวน 4 คนๆละ 300 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท
    3.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 19คนๆละ 30 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 570บาท

    งบประมาณ 6,270.00 บาท
  • 13. ประชุมคณะอนุกรรมการฝ่ายประเมินผลโครงการ ครั้งที่ 2/2567
    รายละเอียด

    1.ค่าตอบแทนในการประชุมคณะอนุกรรมการ จำนวน 15 คนๆละ 300 บาทเป็นเงิน 4,500 บาท
    2.ค่าตอบแทนในการเข้าร่วมประชุมสำหรับเจ้าหน้าที่กองทุนฯเข้าร่วมประชุม จำนวน 4 คนๆละ 300 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท
    3.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 19คนๆละ 30 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 570บาท

    งบประมาณ 6,270.00 บาท
  • 14. ประชุมคณะอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 2/2567
    รายละเอียด

    1.ค่าตอบแทนในการประชุมคณะอนุกรรมการ จำนวน 10 คนๆละ 300 บาทเป็นเงิน 3,000 บาท
    2.ค่าตอบแทนในการประชุมสำหรับเจ้าหน้าที่กองทุนฯ เข้าร่วมประชุม จำนวน 4 คนๆละ 300 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท
    3.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 20 คนๆละ 30 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 600 บาท

    งบประมาณ 4,800.00 บาท
  • 15. ประชุมคณะอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 1/2568
    รายละเอียด

    1.ค่าตอบแทนในการประชุมคณะอนุกรรมการ จำนวน 10 คนๆละ 300 บาทเป็นเงิน 3,000 บาท
    2.ค่าตอบแทนในการประชุมสำหรับเจ้าหน้าที่กองทุนฯ เข้าร่วมประชุม จำนวน 4 คนๆละ 300 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท
    3.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 20 คนๆละ 30 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 600 บาท

    งบประมาณ 4,800.00 บาท
  • 16. วัสดุสำนักงาน/ค่าจ้างถ่ายเอกสาร
    รายละเอียด

    1.จัดซื้อวัสดุสำนักงานที่มีความจำเป็น
    2.ค่าจ้างถ่ายเอกสารที่เกี่ยวข้อง

    งบประมาณ 20,000.00 บาท
  • 17. กิจกรรมพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯ
    รายละเอียด

    ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องในกิจกรรมฝึกอบรมและศึกษาดูงาน ได้แก่ ค่าพาหนะ ค่าเบี้ยเลี้ยง ค่าที่พัก ค่าตอบแทนวิทยากร ค่าใช้จ่ายอื่นๆที่เกี่ยวข้อง

    งบประมาณ 100,000.00 บาท
  • 18. พัฒนาศักยภาพการเขียนโครงการสำหรับผู้ขอรับงบประมาณกองทุนฯ ครั้งที่ 1
    รายละเอียด
    1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้ารับการอบรม เจ้าหน้าที่ คณะกรรมการ จำนวน 45 คนๆละ35 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 1,575 บาท
    2. ค่าอาหารกลางวันและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้ารับการอบรม เจ้าหน้าที่ คณะกรรมการ จำนวน 45 คนๆละ 70 บาท เป็นเงิน 3,150 บาท
    งบประมาณ 4,725.00 บาท
  • 19. พัฒนาศักยภาพการเขียนโครงการสำหรับผู้ขอรับงบประมาณกองทุนฯ ครั้งที่ 2
    รายละเอียด
    1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้ารับการอบรม เจ้าหน้าที่ คณะกรรมการ จำนวน 45 คนๆละ35 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 1,575 บาท
    2. ค่าอาหารกลางวันและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้ารับการอบรม เจ้าหน้าที่ คณะกรรมการ จำนวน 45 คนๆละ 70 บาท เป็นเงิน 3,150 บาท
    งบประมาณ 4,725.00 บาท
  • 20. พัฒนาศักยภาพการผู้ขอรับงบประมาณกองทุนฯในการใช้เว็บไซต์สรุปผลโครงการ
    รายละเอียด
    1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้ารับการอบรม เจ้าหน้าที่ คณะกรรมการ จำนวน 45 คนๆละ35 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 1,575 บาท
    2. ค่าอาหารกลางวันและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้ารับการอบรม เจ้าหน้าที่ คณะกรรมการ จำนวน 45 คนๆละ 70 บาท เป็นเงิน 3,150 บาท
    งบประมาณ 4,725.00 บาท
  • 21. จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล
    รายละเอียด

    จ้างผลิตสื่อประชาสัมพันธ์ /วีดีทัศน์ งานกองทุนหลักประกันสุขภาพและกองทุนฯ LTC  งบประมาณ  25,000 บาท

    งบประมาณ 12,125.00 บาท
  • 22. ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ
    รายละเอียด

    ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องในการเดินทางไปราชการของคณะกรรมการกองทุนฯ คณะอนุกรรมการ เจ้าที่หน้าที่รับผิดชอบงานกองทุนฯ

    งบประมาณ 5,000.00 บาท
  • 23. ประชุมจัดทำแผนสุขภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล
    รายละเอียด
    1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 100 คนๆละ35 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 3,500 บาท
    2. ค่าอาหารกลางวันและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 100 คนๆละ 70 บาท เป็นเงิน 7,000 บาท
    งบประมาณ 10,500.00 บาท
  • 24. จัดซื้อครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์
    รายละเอียด

    เครื่องคอมพิวเตอร์สำหรับสำนักงาน (แสดงจอภาพขนาดไม่น้อยกว่า 19 นิ้ว)  ราคา 20,000 บาท
    เครื่องสํารองไฟฟ้า ขนาด 800 VA ราคา 2,500 บาท
    คุณลักษณะตามเกณฑ์ราคากลางและคุณสมบัติพื้นฐานการจัดหาอุปกรณ์และระบบคอมพิวเตอร์

    งบประมาณ 22,500.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน 115 คน

คณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ เจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานกองทุนฯ จำนวน 35 คนผู้ขอรับงบประมาณกองทุนฯ จำนวน 80 คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568

8.
สถานที่ดำเนินการ

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 305,490.00 บาท

หมายเหตุ : ทุกรายการถัวเฉลี่ยได้

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  1. ประชาชนในพื้นที่สามารถจัดบริการสุขภาพด้วยตนเองได้
  2. ประชาชนเข้าถึงงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล
    3.มีการใช้จ่ายงบประมาณกองทุนฯอย่างน้อย ร้อยละ 80
    4.มีการจัดบริการสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นได้อย่างต่อเนื่อง
11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสตูล รหัส กปท. L8008

อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2568
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสตูล
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสตูล รหัส กปท. L8008

อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 305,490.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................