กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง รหัส กปท. L8010

อำเภอละงู จังหวัดสตูล

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2568 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
ส่งเสริมการมีภาวะโภชนาการและเสริมสร้างสุขภาพที่ดีของนักเรียนโรงเรียนบ้านปีใหญ่
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
โรงเรียนบ้านปีใหญ่
กลุ่มคน
1. นายสุไลมานยังปากน้ำ
2. นางสาวรอฮันนี เจะเลาะผู้ ประสานงาน คนที่ 1 เบอร์โทร 093 -6529962
3. นางสาวกมลทิพย์คำทองผู้ประสานงาน คนที่ 2 เบอร์โทร 084 - 8558039
4. นายอุเซ็ง อิสแม
5. นางสาวยารีนา อารีหมาน
3.
หลักการและเหตุผล

ประเทศไทยกำลังเผชิญกับปัญหาเด็กอ้วนที่มี แนวโน้มเพิ่มขึ้น โดยศูนย์ฝ้าระวังและเตือนภัยพฤติกรรม สุขภาพกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ พบว่า ในปีพ.ศ. 2561-2565 มีเด็กอ้วนเพิ่ม ขึ้นปีละ 4 ล้านคน สอดคล้องกับสถานการณ์ภาวะโภชนาการของเด็กไทยในฐาน ข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2561-2565 พบเด็กอ้วน สูงกว่า ค่าเป้าหมายที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดไว้และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง รวมไปถึงเด็กสูงสมส่วน ยังต่ำ กว่าค่าเป้าหมายและมีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่อง และเด็กเตี้ยสูงกว่าค่าเป้าหมายอย่างต่อเนื่อง ปัจจุบันภาวะ น้ำหนักเกินและโรคอ้วนเป็นภัยคุกคามภาวะสุขภาพอนามัยของเด็กไทย ซึ่งเป็นผลมาจากพฤติกรรมการดำเนินชีวิตที่เปลี่ยนไปตามภาวะเศรษฐกิจและสังคม ทำให้วิถีชีวิตคนไทยเปลี่ยนไปเป็นสังคมเมืองที่เต็มไปด้วยความเร่งรีบ การเปลี่ยนแปลง ดังกล่าวมี ผลกระทบต่อการบริโภคอาหารของครอบครัวและเด็กในวัยเรียนเป็นอย่างมาก การบริโภคอาหาร ที่ต้องอาศัยความรวดเร็วเพื่อความสะดวกต่อการดำรงชีวิตทำให้เกิดค่านิยมใหม่ในเรื่องการบริโรคอาหารประเภทอาหารจานด่วน อาหารสำเร็จรูป อาหารกึ่งสำเร็จรูป เข้ามามีบทบาทอย่างยิ่ง โดยเฉพาะ กับเด็กวัยเรียน ซึ่งอาหารประเภท นี้จะมีแป้ง น้ำตาล และไขมันสูง รวมทั้งความเจริญก้าวหน้าทาง เทคโนโลยีทันสมัย ทำให้เด็กวัยเรียนมีการเคลื่อนไหว ร่างกาย น้อยลง เป็นสาเหตุทำ ให้เกิดโรคอ้วนซึ่งถือเป็นเรื่องใกล้ตัวที่ทุกฝ่ายควร ใส่ใจและแก้ไขปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกันอย่าง จริงจัง จากการสํารวจ ข้อมูลสถานการณ์ปัญหาโรคอ้วนในเด็กไทยพบว่าเด็กไทยทุก ๆ 5 คน ที่เป็นโรคอ้วน กลายเป็นกลุ่มเสี่ยงต่อการเป็นโรคต่าง ๆ เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหอบหืด โรคภูมิแพ้ โรคมะเร็ง และโรคหัวใจ เป็นต้น
โรงเรียนบ้านปีใหญ่ ได้ให้ความตระหนักและใส่ใจเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพของนักเรียนบุคลากรในโรงเรียนและ บริเวณชุมชนรอบ ข้าง ทั้งในเรื่องของการจัดสภาพแวดล้อมในโรงเรียนและบริเวณโรงเรียน ให้เอื้อต่อการเรียนรู้ ซึ่งการมีสภาพแวดล้อมที่ดีจะส่งผลที่ดีกับนักเรียน และโรงเรียนได้เฝ้าระวังเกี่ยวกับสุขภาพของ นักเรียนมาตลอดส่งเสริมการทำกิจกรรมต่างๆ เพื่อแก้ไข ป้องกันให้นักเรียนมีสุขภาพที่ดีมีพัฒนาการที่สมวัย แม้ว่า ที่ผ่านมาโรงเรียนได้จัดกิจกรรม ที่แก้ไขเกี่ยวกับภาวะโภชนาการนักเรียนมาแล้ว แต่ ปัญหาเหล่านี้ก็ยังไม่หมดไป โดยมีข้อมูลในปี 2566 มี นักเรียนที่มีปัญหาเกี่ยวกับภาวะโภชนาการ จำนวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ14.55 จากนักเรียนจำนวน 110 คน โดยจำแนกนักเรียนอ้วนจำนวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 8.18และนักเรียนผอมจำนวน7 คน คิดเป็นร้อยละ 6.36 และในปี 2567 นักเรียนที่มีปัญหาเกี่ยวกับภาวะโภชนาการ จำนวน 23 คนคิดเป็นร้อยละ 20.53 จากนักเรียนทั้งหมด 112 คนโดยจำแนกเป็นนักเรียนอ้วน 13 คนคิดเป็นร้อยละ11.60นักเรียนผอม 10 คน คิดเป็นร้อยละ 8.92จากข้อมูลข้างต้นเห็นได้ว่านักเรียนที่มีปัญหาเกี่ยวกับภาวะโภชนาการเพิ่มสูงขึ้น จึงจำเป็นต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่อง เพราะยังมีนักเรียนที่อ้วน ผอม อยู่ นักเรียนกลุ่มนี้ยังขาดความรู้ความเข้าใจ และ ความมีวินัยในการบริโภคอาหาร และเลือกกินอาหาร ที่ไม่มีประโยชน์ ขาดการออกกำลังกายและ มีสภาวะทางอารมณ์ที่ยังไม่เอื้อต่อ พัฒนาการ ด้านการเรียนรู้ ซึ่งหลัก 3 อ มีความ มี สำคัญและ จำเป็นอย่างมากในการ แก้ปัญหาเหล่านี้ให้ลดน้อยลงหรือหมดไปจึงจำเป็น อย่างยิ่งที่ทางโรงเรียนจะต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่อง เพื่อไม่ให้ส่งผลกระทบ ต่อสุขภาพของ นักเรียน และเพื่อให้นักเรียนมีสุมีขภาพที่ดี จากสภาพปัญหาดังกล่าวโรงเรียนบ้านปีใหญ่ จึงได้จัดทำ โครงการ "ส่งเสริมการมีภาวะโภชนาการและเสริมสร้างสุขภาพที่ดีของนักเรียนโรงเรียนบ้านปีใหญ่"ขึ้นมา เพื่อแก้ ปัญหาเกี่ยวกับภาวะโภชนาการและสุขภาพของ นักเรียน เพื่อให้ปัญหาสุขภาพของ นักเรียนโรงเรียนบ้านปีใหญ่ลดลงและหมดไปในที่สุด

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อให้เด็กที่มีภาวะโภชนาการและน้ำหนักเกินเกณฑ์ได้รับการส่งเสริมและแก้ไขให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ
    ตัวชี้วัด : 1. เด็กที่มีปัญหาทุพโภชนาการร้อยละ50 มีน้ำหนักเพิ่มขึ้นอยู่ในภาวะปกติ 2. เด็กที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์ ร้อยละ 50 มีน้ำหนักลดลงอยู่ในภาวะปกติ 3. นักเรียนและผู้ปกครองเด็กที่มีปัญหาทุพโภชนาการและน้ำหนักเกินเกณฑ์ มีความรู้เกี่ยวกับโภชนาการที่เหมาะสมกับเด็กเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 80.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. ประชุมจัดตั้งคณะทำงาน
    รายละเอียด

    ชื่อกิจกรรม ประชุมคณะทำงาน จำนวน 3 ครั้ง

    รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

    ประชุมคณะทำงานและบุคลากร จำนวน 3 ครั้ง

    1.ประชุมครั้งที่ 1 ชี้แจงรายละเอียดโครงการงบประมาณและกิจกรรม ปรึกษาหารือวางแผนการดำเนินงานโครงการ

    2.ประชุมครั้งที่ 2 รายงานความก้าวหน้าในการดำเนินกิจกรรม ปัญหาโภชนาการของนักเรียน เพื่อหาแนวทางแก้ไข

    3.ประชุมครั้งที่ 3 สรุปผลการดำเนินกิจกรรมที่ผ่านมา

    กลุ่มเป้าหมาย

    • คณะคุณครู 13 คน

      งบประมาณ

    1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน 13 คน คนละ 3 มื้อละ 35 บาท เป็นเงิน 1,365 บาท

    2. ค่าวัสดุ/อุปกรณ์ 3 ครั้ง ๆ ละ 600 บาทเป็นเงิน 1,800 บาท

      รวมเป็นเงิน 3,165 บาท

    งบประมาณ 3,165.00 บาท
  • 2. สร้างแกนนำ อสม.น้อยในโรงเรียน
    รายละเอียด

    กิจกรรม 2.1 คัดเลือกอสม. น้อยในโรงเรียน จำนวน 10 คน โดยคณะกรรมการ

    กลุ่มเป้าหมาย

    • นักเรียนจำนวน 10คน

    งบประมาณ

    • ไม่ใช้งบประมาณ

    กิจกรรม 2.2 สร้างแกนนำ อสม.น้อยในโรงเรียนเพื่อทำหน้าที่เฝ้าระวังด้านสุขภาพ และอบรมให้ความรู้

    กำหนดการอบรม เรื่องบทบาทหน้าที่ อสม.น้อยในโรงเรียน

    08.30 – 09.00 น.ลงทะเบียนผู้เข้ารับการอบรม เรื่อง บทบาทหน้าที่ อสม.น้อยในโรงเรียน

    09.00 – 10.20 น. วิทยากรบรรยาย เรื่อง บทบาทหน้าที่ อสม.น้อยในโรงเรียน

    10.20 – 10.30 น. พักรับประทานอาหารว่าง

    10.30 – 12.10 น. วิทยากรบรรยาย เรื่อง บทบาทหน้าที่ อสม.น้อยในโรงเรียน (ต่อ)

    12.10 น.พักรับประทานอาหารกลางวัน

    กลุ่มเป้าหมาย

    • นักเรียน อสม. น้อย จำนวน 10 คน
    • อสม บ้านปีใหญ่ จำนวน 15คน

    งบประมาณ

    • ค่าตอบแทนวิทยากรจำนวน 3 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท

    • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าอบรมและผู้สังเกตการณ์ จำนวน 36 คนๆละ 1 มื้อๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 1,260 บาท

      • ค่าวัสดุการอบรม เช่น กระเป๋า แฟ้ม สมุด ปากกา เป็นเงิน 3,465 บาท

      รวมเป็นเงิน 6,525 บาท

    กิจกรรม 2.3 แกนนำ อสม.น้อยร่วมกับคณะครู ติดตามพฤติกรรมเด็กที่มีปัญหาภาวะโภชนาการและน้ำหนักเกณฑ์โดยการชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูงและบันทึกผล เดือนละ 1 ครั้ง จำนวน 4 ครั้ง
    กลุ่มเป้าหมาย

    • นักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการและน้ำหนักเกินเกณฑ์ จำนวน 23 คน

    งบประมาณ

    • ค่าเอกสารบันทึกติดตามภาวะโภชนาการ จำนวน 23 ชุดๆละ 40 บาท เป็นเงิน 920 บาท

    • เครื่องชั่งน้ำหนักดิจิตอล ชั่งน้ำหนักสูงสุดไม่ต่ำกว่า 150 กิโลกรัม เครื่องละ 8,000 บาท จำนวน 1 เครื่อง รวมเป็นเงิน 8,000 บาท

    รวมเป็นเงิน 8,920 บาท

    กิจกรรม 2.4 แกนนำ อสม.น้อยรายงานผลการติดตามและแจ้งให้คณะครูทราบพร้อมทั้งลงเยี่ยมบ้านนักเรียนและแจ้งผลให้ผู้ปกครองทราบ

    กิจกรรม 2.5โรงเรียนขอความร่วมมือจากร้านค้า สหกรณ์ จำหน่ายอาหารคุณภาพให้กับนักเรียน

    กลุ่มเป้าหมาย

    • นักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการและน้ำหนักเกินเกณฑ์ จำนวน 23 คน

    งบประมาณ

    • ไม่ใช้งบประมาณ

    งบประมาณทั้งหมด 15,445 บาท

    งบประมาณ 15,445.00 บาท
  • 3. ส่งเสริมสุขภาพนักเรียนด้วย 3 อ ( อาหาร ออกกำลังกาย และอารมณ์)
    รายละเอียด

    กิจกรรม 3.1 ส่งเสริมการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์และครบ 5 หมู่ (ลดอาหาร หวาน มัน เค็ม)

    รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

    1.อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโภชนาการและอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโภชนาการและการบริโภคอาหารปลอดภัยเพื่อสุขภาพที่ดี

    • อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโภชนาการ แก่ผู้ปกครองและนักเรียนที่มีทุพภาวะโภชนาการและน้ำหนักเกินเกณฑ์

    • ดูแลควบคุมการรับประทานอาหารกลางวันของนักเรียนที่มีปัญหาภาวะโภชนาการและน้ำหนักเกินเกณฑ์โดยเพิ่มและลดปริมาณอาหารตามกลุ่มที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ

    กลุ่มเป้าหมาย

    • นักเรียนที่มีทุพโภชนาการจำนวน 10 คน

    • นักเรียนที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์ จำนวน 13 คน

    • ผู้ปกครองเด็กนักเรียนที่มีปัญหาทุพโภชนาการและน้ำหนักเกินเกณฑ์จำนวน 23 คน

    • แกนนำ อสม. จำนวน15 คน

    งบประมาณ

    • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับผู้เข้าอบรมและและผู้สังเกตการณ์จำนวน 81 คนๆละ 1 มื้อๆละ 35 บาท เป็นเงิน 2,835 บาท

    • ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 3 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน1,800 บาท

    • ค่าป้ายไวนิลโครงการ 1.5 x 3.0 เมตรจำนวน 1 ป้าย เป็นเงิน 700 บาท

    • ค่าอุปกรณ์ในการอบรม เป็น เงิน 3,500 บาท

    รวมเป็นเงินทั้งสิ้น8,835บาท

    กำหนดการอบรม

    12.30 - 13.00 น.ลงทะเบียนผู้เข้ารับการอบรม/ทำแบบทดสอบก่อนอบรม

    13.00 - 14.45 น.วิทยากรบรรยาย เรื่องภาวะโภชนาการที่เหมาะสมในเด็กวัยเรียน

    14.45 - 15.00 น. พักรับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม

    15.00 – 16.15 น. วิทยากรบรรยาย เรื่องการแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในเด็กวัยเรียน

    16.15 - 16.30 น. ซักถาม/ทำแบทดสอบหลังการอบรม

    กิจกรรม 3.2 สร้างแกนนำนักเรียน เพื่อเป็นแกนนำในการออกกำลังกาย(บาสโลบ) และทำกิจกรรมทางกายให้กับนักเรียนคนอื่นๆ

    -ให้นักเรียนทุกคนออกกำลังกายหรือทำกิจกรรมทางกาย ก่อนและหลังเลิกเรียนทุกวันโดยเน้นกลุ่มนักเรียนที่มีปัญหาน้ำหนักเกินเกณฑ์

    กลุ่มเป้าหมาย

    • แกนนำ อสม.น้อย จำนวน 10 คน


      งบประมาณ

      -ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 3 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน1,800 บาท

      -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าอบรมและผู้สังเกตการณ์ จำนวน 15 คนๆละ 1 มื้อๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 525 บาท

    • ค่าวัสดุการอบรม 560 บาท

      รวมเป็นเงิน 2,885 บาท

      กำหนดการ

      12.30 – 13.00 น.ลงทะเบียนผู้เข้ารับการอบรม

      13.00 – 14.45 น. วิทยากรบรรยาย เรื่อง การออกำลังกายและวิธีการออกกำลังกายที่ถูกต้อง

      14.45 – 15.00 น. พักรับประทานอาหารว่าง

      15.00 – 16.15 น. วิทยากรบรรยาย เรื่อง การออกำลังกายและวิธีการออกกำลังกายที่ถูกต้อง (ต่อ)

      16.15 – 16.30 น.ซักถาม/แลกเปลี่ยน

    กิจกรรมที่ 3.3 ส่งเสริมสภาวะที่ดี ทางด้านอารมณ์ ให้กับนักเรียนที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ

    -จัดกิจกรรมเสริมสร้างสมาธิที่ดีให้กับนักเรียนเช่น นั่งสมาธิฟังนิทานเสียงตามสายบรรเลงในช่วงเวลาพักกลางวันหรือก่อนกลับบ้านเป็นเวลา 15 นาที ทุกวัน

    • จัดทำกิจกรรมทางกายที่เสริมสร้างสมาธิอื่นๆ เช่น งานประดิษฐ์ร้อยลูกปัด สร้างสรรค์งานศิลปะและการปลูกผักสวนครัว ปลูกดอกไม้ต้นไม้ในบริเวณโรงเรียน

      กลุ่มเป้าหมาย

      • นักเรียนทั่วไปจำนวน 87 คน

      • แกนนำ อสม.น้อย จำนวน 10 คน

      • นักเรียนที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์จำนวน 13 คน

      • นักเรียนที่มีทุพโภชนาการจำนวน 10 คน

      งบประมาณ

    • ค่าเมล็ดพันธ์ุไม้ดอก เป็นเงิน 1,500 บาท

      • ค่าเมล็ดพันธ์ผัก เป็นเงิน 1,500 บาท รวมเป็นเงิน 3,000 บาท

    รวมเป็นเงิน 14,720 บาท

    งบประมาณ 14,720.00 บาท
  • 4. ติดตามประเมินผล
    รายละเอียด

    กิจกรรมที่ 4 ติดตามประเมินผล

    • ทำการสำรวจค่า BMI ของนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการ ทุกๆเดือน เป็นเวลา 3 เดือน

    • สรุปข้อมูลสมุดบันทึกภาวะโภชนาการ โดย อสม.น้อย

    • ถอดบทเรียนร่วมกันระหว่างผู้เข้าร่วมกิจกรรม

    กลุ่มเป้าหมาย

    • นักเรียนที่มีทุพโภชนาการจำนวน 10 คน

      • นักเรียนที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์ จำนวน 13 คน

    งบประมาณ

    • ไม่ใช้งบประมาณ
    งบประมาณ 0.00 บาท
  • 5. ประเมินและถอดบทเรียนจากกิจกรรม
    รายละเอียด

    นักเรียนเขียนสะท้อนความรู็ที่ได้รับและร่วมถอดบทเรียนจากการเข้าร่วมโครงการลงในกระดาษบรู๊ฟ

    เป้าหมาย

    -นักเรียนที่มีทุพโภชนาการ จำนวน 10 คน

    -นักเรียนที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์ จำนวน 13 คน

    -อสม น้อย จำนวน 10 คน

    งบประมาณ

    -ค่ากระดาษบรู๊ฟจำนวน 20 แผ่นเป็นเงิน 200บาท

    -ค่าปากการเมจิก 2 แพ็คๆ ละ 120 บาทเป็นเงิน 240 บาท

    -ค่าเทปเล็กซีน 5 ม้วล ๆ ละ 25 บาทเป็นเงิน 125บาท

    เป็นเงิน 565 บาท

    งบประมาณ 565.00 บาท
  • 6. รายงานผลโครงการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้
    รายละเอียด
    • รายงานผลและนำเสนอโครงการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้2 ครั้ง

    • จัดทำรายงานผลโครงการเสนอกองทุนตำบลอย่างน้อย 2 เล่ม

    เป้าหมาย

    • คณะทำงาน

    งบประมาณ

    • ค่าจัดทำรูปเล่ม จำนวน 4 เล่มๆละ 250 บาท รวมเป็นเงิน1,000บาท

    • ค่าเดินทางเข้าร่วม/เสนอโครงการ 2 คนๆละ 2 ครั้ง รวมเป็นเงิน 400 บาท

    รวมเป็น 1,400 บาท

    งบประมาณ 1,400.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 มกราคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

8.
สถานที่ดำเนินการ

โรงเรียนบ้านปีใหญ่ ม.5 ต.กำแพง อ.ละงู จ.สตูล

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 35,295.00 บาท

หมายเหตุ : สามารถถัวเฉลี่ยจ่ายได้ทุกรายการ

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

1.เด็กที่มีปัญหาทุพโภชนาการ ร้อยละ 50 มีน้ำหนักเพิ่มขึ้นอยู่ในภาวะปกติ 2.เด็กที่มีนำหนักเกินเกณฑ์ ร้อยละ 50 มีน้ำหนักลดลงอยู่ในภาวะปกติ 3. นักเรียนและผู้ปกครองเด็กที่มีปัญหาทุพโภชนาการและน้ำหนักเกินเกณฑ์ มีความรู้เกี่ยวกับโภชนาการที่เหมาะสมกับเด็กเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง รหัส กปท. L8010

อำเภอละงู จังหวัดสตูล

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2568
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง รหัส กปท. L8010

อำเภอละงู จังหวัดสตูล

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 35,295.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................