กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง รหัส กปท. L8010

อำเภอละงู จังหวัดสตูล

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2568 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการ ปากปิงวัยใส ส่งเสริมอนามัย กำจัดเหาเบาหัว
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
โรงเรียนบ้านปากปิง
กลุ่มคน
1. นางญาดานุ้ยไฉน โทร 087-2874847 ผู้ประสานงานคนที่ 1
2. นางสาวจิราภรณ์แซ่ลิ่ม โทร 091-8316279 ผู้ประสานงานคนที่ 2
3. นางสาวณัฐธิชาศรีภูวดล โทร 087-2844882 ผู้ประสานงานคนที่ 3
4.นางสาวบุษยายีมะเร็บ
5. นางปอซอร์ จิ้วจวบ
3.
หลักการและเหตุผล

โรคเหาเป็นโรคที่พบกันบ่อยมากในกลุ่มนักเรียนตั้งแต่ชั้นปฐมวัยจนถึงประถมศึกษาโดยพบว่ามีนักเรียนติดเหาประมาณ 80 - 90 % ซึ่งโรคเหานับเป็นโรคที่น่ารังเกียจ สำหรับคนทั่วไป นอกจากก่อให้เกิดความรำคาญกับผู้ที่เป็นเนื่องจากมีอาการคันศีรษะแล้วยังทำให้เสียสมาธิในการเรียน เสียบุคลิกภาพ และยังเป็นพาหะนำไปติดผู้อื่นต่อไป วิธีการรักษาเหา จะต้องทำการรักษาผู้ที่เป็นเหาและผู้ที่อยู่ใกล้ชิดควบคู่กันไป ไม่ให้เหาแพร่กระจายและป้องกันไม่ให้เกิดการติดเหาซ้ำ
งานอนามัยโรงเรียนบ้านปากปิง ได้ดำเนินการตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้น เช่น ความสะอาดของศีรษะ ผิวหนัง และส่วนต่างๆ ของร่างกาย ร่วมกับครูประจำชั้น ในนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 2 จนถึงนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวนนักเรียนทั้งหมด 103 คน พบว่า มีทั้งนักเรียนหญิงและนักเรียนชาย ประมาณ 70 คน จากนักเรียนทั้งหมด 103 คน คิดเป็นร้อยละ 67.96 ที่ยังมีร่องรอยของการแพร่กระจายของเหาและไข่เหาอยู่ และมีแนวโน้มจะแพร่กระจายมากขึ้น ซึ่งปัญหาดังกล่าวมีผลกระทบในการเรียนของนักเรียนทำให้เสียสมาธิในการเรียน เสียบุคลิกภาพ และยังเป็นพาหะนำไปติดผู้อื่นโรงเรียนบ้านปากปิง ตระหนักและให้ความสำคัญของการดูแลสุขภาพนักเรียน จึงได้จัดทำโครงการ “ปากปิงวัยใส ส่งเสริมอนามัย กำจัดเหาเบาหัว” เพื่อให้นักเรียนผู้ปกครองและคุณครู ได้รับความรู้เรื่องสุขอนามัยและสามารถดูแลตนเองและครอบครัวให้ปราศจากเหา มีทักษะในการใช้ยากำจัดเหา ตลอดจนสามารถนำความรู้และประสบการณ์ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ ดังนั้น โรงเรียนบ้านปากปิง ได้เล็งเห็นความสำคัญของการดูแลสุขภาพของนักเรียนที่เป็นโรคเหา จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อกำจัดเหานักเรียนในโรงเรียนบ้านปากปิง

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อให้นักเรียน ผู้ปกครองและคุณครูมีความรู้เกี่ยวกับเหา การดูแลและรักษาการเกิดเหา
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 75 นักเรียน ผู้ปกครองและคุณครูมีความรู้เกี่ยวกับเหา การดูแลและรักษาการเกิดเหา
    ขนาดปัญหา 67.96 เป้าหมาย 75.00
  • 2. เพื่อป้องกันและลดอัตราการระบาดของเหาในเด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านปากปิง
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 75 ลดอัตราการระบาดของเหาในเด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านปากปิง
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 75.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. กิจกรรมที่ 1 ประชาสัมพันธ์โครงการ
    รายละเอียด

    กิจกรรมที่ 1 ประชาสัมพันธ์โครงการ ประมาณเดือนพฤษภาคม-มิถุนายน 68

    รายละเอียดกิจกรรม

    1.1 จัดทำป้ายนิเทศโครงการ

    1.2 หานักเรียนแกนนำ

    • คัดเลือกแกนนำชั้น ป.1-6 ห้องละ 2 คนรวมจำนวน 12 คน

    • ให้แกนนำเป็นผู้ประสานงานในห้องเรียนร่วมกับครูประจำชั้น

    งบประมาณ

    1. ป้ายประชาสัมพันธ์โครงการปากปิงวัยใส ส่งเสริมอนามัย กำจัดเหา เบาหัว ไวนิลขนาด 1.5x3 ราคาป้ายละ 675 บาท จำนวน 2 ป้าย เป็นเงินจำนวน 1,350 บาท

    2. โปสเตอร์ความรู้ การกำจัดเหาติดภายในห้องเรียนตั้งแต่ชั้นอนุบาล 2 ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ราคาป้ายละ 60 บาท จำนวน 8 ป้าย เป็นเงินจำนวน 480 บาท

    3. แบบบันทึก 12 เล่ม เล่มละ 30 บาท เป็นเงินจำนวน 360 บาท

    กิจกรรมที่ 1 รวมเป็นเงิน 2,190 บาท

    งบประมาณ 2,190.00 บาท
  • 2. กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมให้ความรู้ นักเรียน ผู้ปกครองและคุณครู
    รายละเอียด

    กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมให้ความรู้ นักเรียน ผู้ปกครองและคุณครูประมาณเดือนกรกฎาคม-สิงหาคม 68

    รายละเอียดกิจกรรม

    2.1 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ ให้ความรู้ “กิจกรรมเหาหาย สบายหัว” ให้แก่ ครู บุคลากรทางการศึกษา นักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนบ้านปากปิง

    เป้าหมาย

    • นักเรียนชั้นอนุบาล 2 ถึงประถมศึกษาปีที่ 6 รวมทั้งหมด 103 คน

    • ครูและบุคลากรทางการศึกษา 13 คน

    • ผู้ปกครอง103 คน

    กำหนดการอบรม

    08.30-09.00 น. ลงทะเบียน

    09.00-09.20 น. พิธีเปิดกิจกรรมการอบรมเชิงปฏิบัติการ “กิจกรรมเหาหาย สบายหัว” โดยผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านปากปิง

    09.20-10.20 น. บรรยาย เรื่องเกี่ยวกับเหา ชนิดของเหา สาเหตุของการเกิดเหา

    10.20-10.40 น. พักรับประทานอาหารว่าง

    10.40-11.40 น. บรรยายเรื่องเกี่ยวกับการป้องกัน วิธีดูแลรักษา

    11.40-12.00 น. ประเมินความรู้

    12.00-13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน

    13.00-14.30 น. บรรยายและสาธิตการผลิตสมุนไพรกำจัดเหา

    14.30-14.45 น. พักรับประทานอาหารว่าง

    14.45-15.15 น. รับสมัครแกนนำผู้ปกครองนักเรียน จำนวน 16 คน ห้องเรียนละ 2 คน

    15.15- 15.45 น. ให้แกนนำผู้ปกครอง สำรวจนักเรียนที่เป็นเหาแล้วเก็บข้อมูลไว้สำหรับกิจกรรมที่ 3 หมั่นสาง หมั่นสระ ห่างเหา

    15.45-16.00 น. พิธีปิด

    งบประมาณ

    1. ไวนิลขนาด 1.5x3 ราคาป้ายละ 675 บาท จำนวน 1 ป้าย เป็นเงินจำนวน 675 บาท

    2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 219 คน คนละ 2 มื้อ มื้อละ 35 บาท เป็นเงินจำนวน 15,330 บาท

    3. ค่าอาหารกลางวันผู้ปกครอง จำนวน 103 คน คนละ 1มื้อ มื้อละ 75 บาท เป็นเงินจำนวน 7,725 บาท

    4. ค่าตอบแทนวิทยากรจำนวน 5 ชั่วโมงชั่วโมงละ 600 บาท เป็นเงินจำนวน 3,000 บาท

    5. ค่าเอกสารประกอบการอบรม จำนวน 219 ชุด ชุดละ 30 บาท เป็นเงินจำนวน 6,570 บาท

    6. ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการสาธิตผลิตแชมพูสมุนไพรกำจัดเหา

    • หัวแชมพูอีมอล 28กิโลกรัมละ 75 บาท จำนวน 6 กิโลกรัม เป็นเงินจำนวน 450 บาท

    • ผงฟอง (HH Sodium) กิโลกรัมละ 300 บาท จำนวน 1,000 กรัม เป็นเงินจำนวน 300 บาท

    • ผงข้น (Sodium) กิโลกรัมละ 30 บาท จำนวน 2 กิโลกรัม เป็นเงินจำนวน 60 บาท

    • กลิ่นหอมระเหย ซีซีละ 15 บาท จำนวน 10 ซีซี เป็นเงินจำนวน 150 บาท

    กิจกรรมที่ 2 รวมเป็นเงิน 34,260 บาท

    งบประมาณ 34,260.00 บาท
  • 3. กิจกรรมที่ 3 หมั่นสาง หมั่นสระ ห่างเหา
    รายละเอียด

    กิจกรรมที่ 3 หมั่นสาง หมั่นสระ ห่างเหา ประมาณเดือนสิงหาคม-กันยายน 68

    รายละเอียดกิจกรรม

    3.1 ประสานผู้ปกครอง ทำหนังสือแจ้งการเป็นเหา โดยขออนุญาตผู้ปกครองกำจัดเหานักเรียนและขอความร่วมมือผู้ปกครองเข้าร่วมกิจกรรมกำจัดเหาทั้งที่บ้านและโรงเรียน

    3.2 ประชุมแกนนำส่งเริมสุขภาพในการจัดหากำจัดเหา และจัดเตรียมเวชภัณฑ์ยาและสมุนไพรกำจัดเหา

    – นักเรียนแกนนำ 12 คน ผู้ปกครองแกนนำ 16 คน คุณครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนบ้านปากปิง 13 คน รวมทั้งหมด 41 คน

    กำหนดการประชุมแกนนำ ก่อนวันกำจัดเหาครั้งที่ 1

    13.00-13.30 น. ลงทะเบียนแกนนำ

    13.30-15.00 น. วางแผนการดำเนินกิจกรรม กำจัดเหา หมั่นสาง หมั่นสระ

    • แบ่งกลุ่มนักเรียนแกนนำ ผู้ปกครองแกนนำ คุณครูและบุคลากรทางการศึกษา ออกเป็น 8 กลุ่ม เพื่อเป็นคนดำเนินการสระกำกัดเหาให้กับนักเรียนที่เป็นเหา

      15.00-15.20 น. พักรับประทานอาหารว่าง
      15.20-16.00 น. จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ให้เพียงพอต่อการกำจัดเหานักเรียน

    16.00 น.เสร็จการประชุมแกนนำ

    เป้าหมาย

    1. นักเรียนแกนนำ จำนวน 12 คน

    2. ผู้ปกครองแกนนำ จำนวน 16 คน

    3. ครูและบุคลากรทางการศึกษา จำนวน 13 คน

    รวมทั้งหมด 41 คน

    งบประมาณ

    1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 41 คน คนละ 1 มื้อ มื้อละ 35 บาท เป็นเงินจำนวน 1,435 บาท ค่ายาและอุปกรณ์กำจัดเหา
    • แชมพูกำจัดเหา ขนาด 50 มล. จำนวน 70 ขวด ราคาขวดละ 100 บาท เป็นเงินจำนวน 7,000 บาท (ใช้กำจัดเหาจำนวน 3 ครั้ง)

    • ถุงมืออนามัยกล่องละ 50 คู่ ราคา 250 บาท จำนวน 3 กล่อง เป็นเงินจำนวน 750 บาท

    • หวีสางเหา ราคาอันละ 20 บ. จำนวน 41 อัน เป็นเงินจำนวน 820 บาท

    • ผ้าขนหนู ราคาผืนละ 20 บ. จำนวน 70 ผืน เป็นเงินจำนวน 1,400 บาท

    • หมวกคลุมผมแบบใยสังเคราะห์ กล่องละ 50 ใบ จำนวน 3 กล่อง กล่องละ 150 บาท เป็นเงินจำนวน450 บาท

    • ถังน้ำพสลาสติก 8 ใบขนาด 12 ลิตร ใบละ 60 บาท เป็นเงินจำนวน 480 บาท

    • ขันน้ำพลาสติก 8 ใบ ใบละ 20 บาท เป็นเงินจำนวน 160 บาท

    รวมเป็นเงิน 12,495.00 บาท

    3.3ดำเนินการ กำจัดเหา หมั่นสาง หมั่นสระหางเหา ครั้งที่ 1 ประมาณเดือนสิงหาคม

    เป้าหมาย

    1. นักเรียนแกนนำ จำนวน 12 คน

    2. ผู้ปกครองแกนนำ จำนวน 16 คน

    3. ครูและบุคลากรทางการศึกษา จำนวน 13 คน

    4. นักเรียนที่เป็นเหา 70 คน รวมทั้งหมด 111 คน

    3.4ดำเนินการ กำจัดเหา หมั่นสาง หมั่นสระหางเหา ครั้งที่ 2 ประมาณกลางเดือนสิงหาคม

    เป้าหมาย

    1. นักเรียนแกนนำ จำนวน 12 คน

    2. ผู้ปกครองแกนนำ จำนวน 16 คน

    3. ครูและบุคลากรทางการศึกษา จำนวน 13 คน

    4. นักเรียนที่เป็นเหา 70 คนรวมทั้งหมด 111 คน

    ไม่ใชงบประมาณ

    3.5ดำเนินการ กำจัดเหา หมั่นสาง หมั่นสระหางเหา ครั้งที่ 3 ประมาณเดือนกันยายน
    เป้าหมาย

    1. นักเรียนแกนนำ จำนวน 12 คน

    2. ผู้ปกครองแกนนำ จำนวน 16 คน

    3. ครูและบุคลากรทางการศึกษา จำนวน 13 คน

    4. นักเรียนที่ยังคงเป็นเหาอยู่อีกหลังจากดำเนินการกำจัดไปแล้ว 2 ครั้ง

    ไม่ใช้งบประมาณ

    3.6 กำกับติดตามการดำเนินงานและกำจัดเหา ค้นหารายใหม่และรายเก่าที่ยังเป็นอยู่

    เป้าหมาย

    นักเรียนที่ยังคงเป็นเหาอยู่อีกหลังจากดำเนินการกำจัดไปแล้ว 3 ครั้ง

    ไม่ใช้งบประมาณ

    งบประมาณ 12,495.00 บาท
  • 4. กิจกรรมที่ 4 เหาหาย เบาหัว
    รายละเอียด

    กิจกรรมที่ 4 เหาหาย เบาหัว ประมาณเดือนกันยายน 68

    รายละเอียดกิจกรรม

    4.1 มอบเวชภัณฑ์ยา สมุนไพรกำจัดเหา ไปใช้ต่อที่บ้าน (สำหรับนักเรียนที่ยังเป็นเหาอยู่)

    4.2 ติดตาม สรุปผลอัตราการลดลงของจำนวนักเรียนที่ปลอดเหา

    ไม่ใช้งบประมาณ

    งบประมาณ 0.00 บาท
  • 5. กิจกรรมที่ 5 จัดทำรูปเล่มรายงานโครงการ
    รายละเอียด

    รายละเอียดกิจกรรม

    • รายงานผลและนำเสนอโครงการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จำนวน 2 ครั้ง

    งบประมาณ

    • ค่าจัดทำรูปเล่มรายงานเมื่อเสร็จสิ้นโครงการ จำนวน 4 เล่มๆละ 250 บาท เป็นเงิน 1000 บาท

    รวมเป็นเงิน 1,000 บาท

    งบประมาณ 1,000.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 เมษายน 2568 ถึง 31 ธันวาคม 2568

8.
สถานที่ดำเนินการ

โรงเรียนบ้านปากปิง

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 49,945.00 บาท

หมายเหตุ : งบประมาณสามารถถัวเฉลี่ยได้ทุกรายการ

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  1. นักเรียนผู้ปกครองและคุณครูโรงเรียนบ้านปากปิงมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลตนเองและรักษาการเกิดเหา
  2. ลดจำนวนอัตราการเกิดเหาในนักเรียนโรงเรียนบ้านปากปิง
11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง รหัส กปท. L8010

อำเภอละงู จังหวัดสตูล

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2568
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง รหัส กปท. L8010

อำเภอละงู จังหวัดสตูล

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 49,945.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................