โครงการพัฒนาการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลแหลมสน
แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แหลมสน
1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม
โครงการพัฒนาการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลแหลมสนชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แหลมสน
กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลแหลมสน
1. นายดิเรก สันนก
2. นายอราม เกื้อเดช
3. นางสาวสุทัตตา สาเส็น
4. นางสุดา หรันหลัง
5. นางสาวถิรนันท์ หลีเคราะห์
ตำบลแหลมสน อำเภอละงู จังหวัดสตูล
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
3. สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |
---|---|---|
1 | ร้อยละเงินคงเหลือสะสมของกองทุนสุขภาพตำบล(เงินคงเหลือเทียบกับรายรับปีล่าสุด)
|
20.00 |
2 | จำนวนคณะกรรมการบริหารฯได้รับการพัฒนาศักยภาพ เรื่อง ความเข้าใจจุดมุ่งหมายกองทุน ประกาศ ระเบียบ และการทำโครงการด้านสุขภาพ(คน)
|
100.00 |
3 | ร้อยละของโครงการ ที่มีการสรุปงาน ส่งรายงาน และปิดโครงการ ภายในปีงบประมาณ
|
100.00 |
ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม
4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด
- บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
- ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาด | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อให้การบริหารจัดการหรือพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพมีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ
|
80.00 | 80.00 |
2 | เพื่อสนับสนุน และส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน หรือโครงการ หรือกิจกรรม ในการจัดบริการสาธารณสุข ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ. 2561 ข้อ 10
|
80.00 | 80.00 |
3 | เพื่อสร้างนวัตกรรมสุขภาพชุมชนที่สามารถแก้ไขปัญหาสุขภาพหรือสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนอย่างเป็นรูปธรรม มีนวัตกรรมสุขภาพชุมชนที่สามารถแก้ไขปัญหาสุขภาพหรือสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนอย่างเป็นรูปธรรมอย่างชัดเจน อย่างน้อย 1 นวัตกรรม |
1.00 | 1.00 |
4 | เพื่อสนับสนุนการจัดบริหารดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง กองทุนมีการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ร้อยละ 100 |
100.00 | 100.00 |
5. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) |
---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | |
กลุ่มวัยทำงาน | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | |
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | |
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | |
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | 43 |
6. ระยะเวลาดำเนินงาน
วันเริ่มต้น 01/10/2024
กำหนดเสร็จ 30/09/2025
7. วิธีการดำเนินงาน
- กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
- งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด
กิจกรรมที่ 1 การพัฒนาศักยภาพของคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ
ชื่อกิจกรรม
การพัฒนาศักยภาพของคณะกรรมการบริหารกองทุนฯรายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
กิจกรรมย่อย
พัฒนาศักยภาพของคณะกรรมการกองทุนฯ และคณะอนุกรรมการทุกคณะ
กลุ่มเป้าหมาย
- คณะกรรมการบริหารกองทุนฯ จำนวน 18คน
- ทีปรึกษากองทุนฯ จำนวน3คน
- คณะอนุกรรมการติดตามและประเมินผลจำนวน5คน
- คณะทำงาน จำนวน 4คน
รวม28คน
รายละเอียดกิจกรรม
1.1.1 คณะกรรมการกองทุนฯ เข้าร่วมการพัฒนาศักยภาพ
โดยการประชุมหรือฝึกอบรม
- จัดอบรมเสริมความรู้และสร้างความเข้าใจในการบริหารจัดการกองทุนฯ และเสริมสร้างประสบการณ์ด้วยการศึกษาดูงาน จำนวน 1 ครั้ง
- ส่งเข้าร่วมประชุมหรืออบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ ตามความจำเป็นและเหมาะสม
เป้าหมาย คณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ คณะทำงาน และที่ปรึกษา
งบประมาณ
กรณีเข้าร่วมประชุมหรืออบรมที่หน่วยงานอื่นเป็นผู้จัด
- ค่าลงทะเบียนที่ใช้ในการประชุมหรือฝึกอบรม
- ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง
กรณีที่กองทุนจัดประชุมหรืออบรม
- ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการใช้และตกแต่งสถานที่ฝึกอบรม
- ค่าใช้จ่ายในพิธีเปิดและปิดการฝึกอบรม
- ค่าวัสดุ เครื่องเขียน และอุปกรณ์ที่ใช้ในการประชุมหรือฝึกอบรม
- ค่าประกาศนียบัตร
- ค่าถ่ายเอกสาร ค่าพิมพ์เอกสาร และสิ่งพิมพ์
- ค่าหนังสือสำหรับผู้เข้ารับการฝึกอบรม
- ค่าใช้จ่ายในการติดต่อสื่อสาร
- ค่าเช่าอุปกรณ์ต่างๆในการฝึกอบรม
- ค่ากระเป๋าหรือสิ่งที่ใช้บรรจุเอกสารสำหรับผู้เข้ารับการฝึกอบรม
- ค่าสมนาคุณในการศึกษาดูงาน
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
- ค่าสมนาคุณวิทยากร
- ค่าอาหาร
- ค่ายานพาหนะ
- ค่าคู่มือปฏิบัติงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ (พ.ศ. 2561) สำหรับคณะกรรมการกองทุนฯ
- ค่าตอบแทนคณะทำงานสำหรับ จนท./ลูกจ้าง อปท.ที่ได้รับการแต่งตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่ฯ
รวมเป็นเงิน 3,000.-บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤศจิกายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2568ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
คณะกรรมการกองทุนฯ ได้รับการพัฒนาศักยภาพและมีความรู้ในการบริหารจัดการกองทุนฯ
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
3000.00กิจกรรมที่ 2 ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และที่ปรึกษา
ชื่อกิจกรรม
ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และที่ปรึกษารายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ และคณะอนุกรรมการกองทุน LTC
1.เบิกค่าตอบแทนในการประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ 4 ครั้ง และเบิกค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 4 ครั้ง
2. เบิกค่าตอบแทนคณะอนุกรรมการกองทุน LTC จำนวน 4 ครั้ง และเบิกค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 6 ครั้ง)
กลุ่มเป้าหมาย
- คณะกรรมการกองทุนฯ จำนวน 18 คน
- ที่ปรึกษา จำนวน 3 คน
- คณะทำงาน จำนวน 2 คน
- ตัวแทนผู้เสนอโครงการๆ ละ 1 คน (โดยประมาณ) จำนวน 10 คน
- คณะอนุกรรมการกองทุน LTC จำนวน 10 คน
รวม 43 คน
หมายเหตุ ตัวแทนผู้เสนอโครงการๆ ขึ้นอยู่กับโครงการที่เสนอขอในแต่ละครั้ง
รายละเอียดกิจกรรม
2.1.1 ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ และที่ปรึกษา อนุมัติแผนงาน โครงการ กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนฯ
2.1.2 ประชุมคณะอนุกรรมการกองทุน LTC อนุมัติแผนการดูแล (Care plan)
งบประมาณ
กองทุนฯ
- ค่าตอบแทนในการประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ และที่ปรึกษา จำนวน 21 คนๆ ละ 4 ครั้งๆ ละ 300 บาท
เป็นเงิน 25,200 บาท
- ค่าตอบแทนคณะทำงานสำหรับ จนท./ลูกจ้าง อปท.ที่ได้รับการแต่งตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่ฯ จำนวน 2 คนๆ ละ 4 ครั้งๆ ละ 300 บาท
เป็นเงิน 2,400 บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับการประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ และที่ปรึกษา จำนวน 21 คนๆ ละ 4 มื้อๆ ละ 25 บาท
เป็นเงิน 2,100 บาท
LTC
- ค่าตอบแทนในการประชุมคณะอนุกรรมการ LTC และที่ปรึกษา จำนวน 10 คนๆ ละ 4 ครั้งๆ ละ 200 บาท
เป็นเงิน 8,000 บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับการประชุมคณะอนุกรรมการ LTC จำนวน 10 คนๆ ละ 4 มื้อๆ ละ 25 บาท
เป็นเงิน 1,000 บาท
- ค่าตอบแทนคณะทำงานสำหรับ จนท./ลูกจ้าง อปท.ที่ได้รับการแต่งตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่ฯ จำนวน 1 คนๆ ละ 4 ครั้งๆ ละ 200 บาท
เป็นเงิน 800 บาท
- ค่าเอกสารประกอบการประชุม
เป็นเงิน 1,000 บาท
รวมเป็นเงิน 40,500 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
การบริหารจัดการหรือพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพมีประสิทธิภาพ ถูกต้อง และเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
40500.00กิจกรรมที่ 3 ประชุมชี้แจงผู้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนฯ และจัดทำบันทึกข้อตกลง
ชื่อกิจกรรม
ประชุมชี้แจงผู้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนฯ และจัดทำบันทึกข้อตกลงรายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
กิจกรรมย่อย ประชุมชี้แจงผู้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนฯ และจัดทำบันทึกข้อตกลง จำนวน 1 ครั้ง
กลุ่มเป้าหมาย
- ผู้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนฯ
จำนวน 20 คน
- คณะทำงาน จำนวน 2 คน
รวม 22 คน
หมายเหตุ ตัวแทนผู้เสนอโครงการๆ ขึ้นอยู่กับโครงการที่เสนอขอในแต่ละครั้ง
รายละเอียดกิจกรรม
3.1.1 ประชุมชี้แจงผู้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนฯ และจัดทำบันทึกข้อตกลง
งบประมาณ - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 22 คนๆ ละ 1 มื้อๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 550 บาท รวมเป็นเงิน 550 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤศจิกายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2568ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
ผู้ได้รับงบประมาณสนับสนุนนำงบประมาณไปใช้อย่างถูกต้องตามวัตถุประสงค์และเกิดประโยชน์สูงสุด
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
550.00กิจกรรมที่ 4 ประชุมคณะอนุกรรมการติดตาม/ประเมินผล และแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ชื่อกิจกรรม
ประชุมคณะอนุกรรมการติดตาม/ประเมินผล และแลกเปลี่ยนเรียนรู้รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
กิจกรรมย่อย ประชุมคณะอนุกรรมการติดตาม/ประเมินผล และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จำนวน 2 ครั้งๆ ละ 1 วัน
กลุ่มเป้าหมาย
- คณะอนุกรรมการติดตามและประเมินผล จำนวน 5 คน
- คณะทำงาน จำนวน 2 คน
- ผู้เสนอโครงการ (โดยประมาณ) จำนวน 20 คน
รวม 27 คน
รายละเอียดกิจกรรม
4.1.1 ติดตามและประเมินผลแผนงาน โครงการ กิจกรรมที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนฯ
4.1.2 แลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการดำเนินงานด้านสุขภาพในพื้นที่
งบประมาณ
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 27 คนๆ ละ 1 มื้อๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 675 บาท
- ค่าตอบแทนอนุกรรมการติดตามและประเมิลผล จำนวน 5 คนๆ ละ 1 ครั้งๆ ละ 200 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท
- ค่าตอบแทนคณะทำงานสำหรับ จนท./ลูกจ้าง อปท. ที่ได้รับการแต่งตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่ฯ จำนวน 2 คนๆละ 2 ครั้งๆละ 200 บาท เป็นเงิน 400 บาท
- ค่าเอกสารประกอบการประชุม เป็นเงิน 500 บาท
รวมเป็นเงิน 2,575 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กันยายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
นำผลที่ได้จากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อนำไปปรับใช้กับงานกองทุนในปีถัดๆไป
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2575.00กิจกรรมที่ 5 ประชุมการจัดทำแผนสุขภาพตำบลแหลมสน
ชื่อกิจกรรม
ประชุมการจัดทำแผนสุขภาพตำบลแหลมสนรายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
กิจกรรมย่อยประชุมการจัดทำแผนสุขภาพตำบลแหลมสน
จำนวน1ครั้งๆละ 6 หมู่บ้านๆละ 3 คน
กลุ่มเป้าหมาย
- แกนนำหมู่บ้านละ 3 คน จำนวน 6 หมู่บ้าน จำนวน 18คน
- คณะทำงาน จำนวน 2 คน/ครั้ง
รวม20คน
รายละเอียดกิจกรรม
5.1.1 จัดทำแผนสุขภาพตำบลแหลมสน จำนวน 6 หมู่บ้านๆ ละ 3 คน รวม 18 คน
5.1.2 จัดกิจกรรมจำนวน 6 หมู่บ้านๆละ 3 คน ประกอบด้วย เจ้าหน้าที่สาธารณสุข, สมาชิก อบต., กำนัน/ผู้ใหญ่บ้าน, อาสาสมัครสาธารณสุข, ผู้นำศาสนา, แกนนำผู้สูงอายุ และเจ้าหน้าที่อบต.แหลมสน
งบประมาณ - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับกรรมการกองทุนฯ จำนวน 18 คนๆ ละ 1 มื้อๆละ 25 บาทเป็นเงิน 450 บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับแกนนำหมู่บ้านจำนวน 6 หมู่บ้านๆละ 3 คนๆ ละ 1 มื้อๆ ละ 25 บาทเป็นเงิน 450 บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับคณะทำงาน จำนวน 2 คนๆ ละ 1 มื้อๆ ละ 25 บาทเป็นเงิน 50 บาท
- ค่าใช้จ่ายอื่นๆ
- ค่าวัสดุสำนักงาน เป็นเงิน 1,443 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กันยายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
กองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลแหลมสน มีแผนสุขภาพตำบลที่สามารถนำไปใช้เป็นแนวทางการสนับสนุน
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2398.00งบประมาณโครงการ
จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 49,023.00 บาท
หมายเหตุ :
8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง
ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?