2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
3. สถานการณ์
เนื่องจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นไทร สภาพภูมิประเทศเป็นที่ราบลุ่มอากาศค่อนข้างชื้นและโรคติดต่อที่พบบ่อยมีโรคมือเท้าปาก โรคไข้หวัดใหญ่ และโรคไข้เลือดออก แต่ในส่วนของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นไทรโรคติดต่อที่เป็นปัญหามากจากการ ทำประชาคม คือโรคไข้เลือดออกและเป็นโรคที่มีอัตราป่วยสูงมากในปี 2565 ถึง 192.60 /แสน ปชก.และลดลงมาในปี 25666 เป็น 96.30 /แสน ปชก. เพิ่มขึ้นในปี 2567 เป็น250.38 /แสน ปชก. และในปี 2568 ยังเป็นปัญหาที่สำคัญต้องมีการดำเนินการรณรงค์ในการป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออก
ในการนี้โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นไทร จึงได้จัดทำโครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นไทร ปีงบประมาณ 2568เพื่อเป็นการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในเขตพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นไทร โดยเน้นให้ลดอัตราป่วยหรือจนกว่าจะไม่พบผู้ป่วยเลย เพื่อลดปัญหาอัตราป่วยของประชากรให้ต่ำกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้ และเพื่อสร้างนิสัยการป้องกันโรคย่อมดีกว่าการแก้ไขเมื่อมีโรคเกิดขึ้นแล้ว ต่อไป
4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด
- บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
- ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
5. กลุ่มเป้าหมาย
6. ระยะเวลาดำเนินงาน
วันเริ่มต้น 22/11/2024
กำหนดเสร็จ 29/08/2025
7. วิธีการดำเนินงาน
- กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
- งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด
หมายเหตุ :
8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง
ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?1.อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในปี 2568 ลดลง
2.อัตราป่วยตายด้วยโรคไข้เลือดออกในปี 2568 เป็นศูนย์
3.ชุมชนมีส่วนร่วมรับผิดชอบในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่อง
มีการดำเนินการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในพื้นที่อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพทุกหลังคาเรือน