2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
3. สถานการณ์
1.อัตราป่วยโรคมะเร็งเต้านมต่อประชากร เท่ากับ ร้อยละ 0.75 (ปี 2567 มีผู้ป่วยหญิงโรคมะเร็งเต้านม ตามกลุ่มอายุ 30-70 ปี ในเขตศูนย์แพทย์ชุมชน โรงพยาบาลพัทลุง จำนวน 69 คน ที่ต้องดูแลรักษาต่อเนื่อง)
2.อัตราป่วยโรคมะเร็งปากมดลูกต่อประชากร เท่ากับ 0.30 (ปี 2567 มีผู้ป่วยหญิงโรคมะเร็งปากมดลูก ตามกลุ่มอายุ 30-60 ปี ในเขตศูนย์แพทย์ชุมชน โรงพยาบาลพัทลุง จำนวน 18 คน ที่ต้องดูแลรักษาต่อเนื่อง)
3.อัตราการคัดกรองมะเร็งเต้านม ในสตรีอายุ 30-70 ปี ในเขตศูนย์แพทย์ชุมชน โรงพยาบาลพัทลุง ปี 2567 เท่ากับ ร้อยละ 78.98 เป้าหมายคัดกรองมะเร็งเต้านม ปี 2568 เท่ากับ 5,075 คน
4.อัตราการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ในสตรีอายุ 30-60 ปี ได้รับการคัดกรอง 5 ปีต่อครั้ง ในเขตศูนย์แพทย์ชุมชน โรงพยาบาลพัทลุง ปี 2567 เท่ากับ ร้อยละ 52 เป้าหมายคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ปี 2568 เท่ากับ 525 คน (คิดเป้าหมาย 877 คน หาร 5 ปี เท่ากับ 175 คน*3 ศูนย์แพทย์)
5.สตรีกลุ่มเสี่ยงที่พบความผิดปกติจากการคัดกรองมะเร็งเต้านม และมะเร็งปากมดลูก ในเขตศูนย์แพทย์ชุมชน โรงพยาบาลพัทลุง ปี 2567 ได้รับการส่งต่อและรับการรักษาจากแพทย์
4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด
- บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
- ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
5. กลุ่มเป้าหมาย
6. ระยะเวลาดำเนินงาน
วันเริ่มต้น 01/02/2025
กำหนดเสร็จ 31/08/2025
7. วิธีการดำเนินงาน
- กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
- งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด
หมายเหตุ :
ทุกรายการถัวเฉลี่ยกันได้
8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง
ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?1. สตรีกลุ่มเสี่ยงสามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองได้อย่างถูกวิธี และประเมินความผิดปกติด้วยตนเองได้
2. สตรีกลุ่มเสี่ยงได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
3. สตรีกลุ่มเสี่ยงที่พบผลผิดปกติได้รับการส่งต่อและรับการรักษาจากแพทย์