2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
3. สถานการณ์
1.จำนวนผู้ป่วยโรคหลอดเลือดรายใหม่เพิ่มขึ้น โดยในปี 2565- 2567 เท่ากับ 65, 93 และ 92 คน ตามลำดับ โดยในปี 2567 จากศูนย์แพทย์ดอนยอ 33 คน, คูหา 24 คน และท่ามิหรำ 35 คน รวม 92 คน กลุ่มเสี่ยงมาจากผู้ป่วยเบาหวาน และความดันโลหิตสูงที่ควบคุมโรคไม่ได้
2.กลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองที่เป็นผู้ป่วยโรคเบาหวาน ความดัน ที่ควบคุมโรคไม่ได้ ที่เข้าร่วมโครงการส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมอง ในปี 2567 จำนวน 119 คน พบว่ามีความรู้ และทักษะในการป้องกันโรคหลอดเลือดสมอง ร้อยละ 80
3.กลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองที่เป็นผู้ป่วยโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ที่ควบคุมโรคไม่ได้ ที่เข้าร่วมโครงการ ฯ ในปี 2567 จำนวน 119 คน พบว่ากลายเป็นโรคหลอดเลือดสมองรายใหม่ 1 คน คิดเป็น ร้อยละ 0.84 เท่ากับไม่กลายเป็นโรคหลอดเลือดสมอง ร้อยละ 99.16
4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด
- บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
- ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
5. กลุ่มเป้าหมาย
6. ระยะเวลาดำเนินงาน
วันเริ่มต้น 02/01/2025
กำหนดเสร็จ 31/08/2025
7. วิธีการดำเนินงาน
- กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
- งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด
หมายเหตุ :
ทุกรายการถัวเฉลี่ยกันได้
8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง
ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?1. กลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมอง มีความรู้ความเข้าใจและมีทักษะในการป้องกันตนเองไม่ให้เป็นโรคหลอดเลือดสมองมากกว่าร้อยละ 85
2. กลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมอง ไม่กลายเป็นโรคหลอดเลือดสมอง ร้อยละ 100
3. มีผู้ป่วยต้นแบบที่มีความสำเร็จในการป้องกันตนเองไม่ให้เป็นโรคหลอดเลือดสมอง