กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการอสม.คุ้มครองผู้บริโภค คุ้มครองสุขภาพในชุมชน ปี 2568

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง

คณะทำงานศูนย์แจ้งเตือนภัยเฝ้าระวังและรับเรื่องร้องเรียนผลิตภัณฑ์สุขภาพ เทศบาลเมืองพัทลุง (กลุ่ม อสม.นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ชุมชน)

1.นางกุลวีร์ตุลาธน
2.นางพรเพ็ญ เนียมสวัสดิ์
3.นางพิมล ชูรัตน์
4.นางฉัฐม์ธนาพร เพ็ชรมณี
5.นางสาวนัชธ์กัญสัมผัสนพพร

ต.คูหาวรรค์ อ.เมืองพัทลุง จ.พัทลุง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนอนามัยและสิ่งแวดล้อม

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ตรวจพบสารปนเปื้อน (สารเร่งเนื้อแดงในเนื้อสุกร สารกันราหรือกรดซาลิซิลิค สารฟอกขาว สารบอแรกซ์ สารฟอร์มาลิน หรือสารละลายฟอร์มาลดีไฮด์ และยาฆ่าแมลงหรือสารเคมีกำจัดศัตรูพืช)

 

40.00
2 สร้างพัฒนาศักยภาพขยายเครือข่าย อย.น้อย และอสม. คุ้มครองผู้บริโภคเพิ่มเติม

 

30.00
3 ร้อยละประชากรเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อ เช่น NCDs เบาหวาน ความดันโลหิตสูง

จำนวนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง รายใหม่ในปีงบประมาณ 2568 (76 คน) จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวาน รายใหม่ในปีงบประมาณ 2568 (32 คน)

108.00

1.ร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ตรวจพบสารปนเปื้อน (สารเร่งเนื้อแดงในเนื้อสุกร สารกันราหรือกรดซาลิซิลิค สารฟอกขาว สารบอแรกซ์ สารฟอร์มาลิน หรือสารละลายฟอร์มาลดีไฮด์ และยาฆ่าแมลงหรือสารเคมีกำจัดศัตรูพืช) ขนาด 40
2.สร้างพัฒนาศักยภาพขยายเครือข่าย อย.น้อย และอสม. คุ้มครองผู้บริโภคเพิ่มเติม ขนาด 30
3.ร้อยละประชากรเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อ เช่น NCDs เบาหวาน ความดันโลหิตสูง
- จำนวนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง รายใหม่ในปีงบประมาณ 2568 (76 คน) จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวาน รายใหม่ในปีงบประมาณ 2568 (32 คน) ขนาด 108

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดตัวอย่างอาหารที่ตรวจพบสารปนเปื้อน

ร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ตรวจพบสารปนเปื้อน (สารเร่งเนื้อแดงในเนื้อสุกร สารกันราหรือกรดซาลิซิลิค สารฟอกขาว สารบอแรกซ์ สารฟอร์มาลิน หรือสารละลายฟอร์มาลดีไฮด์ และยาฆ่าแมลงหรือสารเคมีกำจัดศัตรูพืช)

40.00 20.00
2 เพื่อลดจำนวนประชากรเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อ เช่น NCDs เบาหวาน ความดันโลหิตสูง

ร้อยละประชากรเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อ เช่น  NCDs เบาหวาน ความดันโลหิตสูง

108.00 100.00
3 3.เพิ่มเครือข่ายอย.น้อย อสม.คุ้มครองผู้บริโภค

-อสม. และ อย.น้อย มีความรู้ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพและมีการดำเนินงานด้านคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน -มีศูนย์เรียนรู้เคลื่อนที่ด้านคุ้มครองผู้บริโภค เทศบาลเมืองพัทลุง อย่างน้อย ๑ หน่วยและมีอสม.นักวิทยาศาตร์การแพทย์ชุมชน ทุกชุมชนในเทศบาลเมืองพัทลุง

30.00 60.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,000
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 200

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 02/04/2025

กำหนดเสร็จ 29/08/2025

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุม อสม.นักวิทย์ฯเทศบาลเมืองพัทลุง และผู้ที่เกี่ยวข้อง

ชื่อกิจกรรม
ประชุม อสม.นักวิทย์ฯเทศบาลเมืองพัทลุง และผู้ที่เกี่ยวข้อง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-ประชุม อสม.นักวิทย์ฯเทศบาลเมืองพัทลุง เพื่อจัดทำแผนงานโครงการ อสม.คุ้มครองผู้บริโภค คุ้มครองชุมชน ปี 2568

-แลกเปลี่ยนเรียนรู้ -ซักถามปัญหาทั่วไป

  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 1 มื้อๆ ละ 30 บาท จำนวน 30 คนเป็นเงิน 900.00 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
2 เมษายน 2568 ถึง 2 เมษายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

แผนการดำเนินงานของอสม.คุ้มครองผู้บริโภค คุ้มครองชุมชน ปี 2568

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
900.00

กิจกรรมที่ 2 ตรวจร้านชำ 135 ร้าน 45 ชุมชน

ชื่อกิจกรรม
ตรวจร้านชำ 135 ร้าน 45 ชุมชน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ลงปฎิบัติการตรวจร้านชำ 45 ชุมชน ในเขตเทศบาลเมืองพัทลุง

พักรับประทานอาหารกลางวัน

ลงปฎิบัติการตรวจร้านชำ 45 ชุมชน ในเขตเทศบาลเมืองพัทลุง(ต่อ)

ประชุมสรุปผลการดำเนินงาน ปัญหาอุปสรรค

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 2 มื้อๆ ละ 30 บาท จำนวน 30 คน จำนวน 1,800.00 บาท

ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 1 มื้อๆ ละ 65 บาท จำนวน 30 คนเป็นเงิน 1,925.00บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
7 เมษายน 2568 ถึง 11 เมษายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เฝ้าระวังและให้คำแนะนำ ความรู้เกี่ยวกับการเลือกซื้อและจำหน่ายผลิตภัณฑ์์สุขภาพแก่ผู้ประกอบการร้านชำ มีร้านชำคุณภาพในชุมชน จำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ปลอดภัยต่อผู้บริโภค

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
3725.00

กิจกรรมที่ 3 เก็บตัวอย่างอาหารและเคริ่องดื่มเพื่อตรวจสอบความเค็มและความหวานจากร้านขายข้าวแกงและเครื่องดื่ม

ชื่อกิจกรรม
เก็บตัวอย่างอาหารและเคริ่องดื่มเพื่อตรวจสอบความเค็มและความหวานจากร้านขายข้าวแกงและเครื่องดื่ม
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชุมและให้ความรู้ อสม.นักวิทย์ฯ เทศบาลเมืองพัทลุง เกี่ยวกับการเก็บตัวอย่างเพื่อตรวจสอบความเค็มและความหวานของอาหาร และเครืื่องดื่ม

ลงปฎิบัติการเก็บตัวอย่าง อาหาร และเครื่องดื่มจากร้านขายข้าวแกง และเครื่องดื่ม

พักรับประทานอาหารกลางวัน

ลงปฎิบัติการทดสอบความเค็ม และความหวาน ของอาหาร และเครื่องดื่มจากร้านขายข้าวแกง และเครื่องดื่ม

สรุปผลการดำเนินงาน ปัญหาอุปสรรค

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน ๒ มื้อๆ ละ 30 บาท จำนวน 30 คน จำนวน 1,800.00 บาท

ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 1 มื้อๆ ละ 65 บาท จำนวน 30 คนเป็นเงิน 1,925.00บาท

ค่าชุดทดสอบความหวานในเครื่องดื่ม 1 ชุดๆละ 600 บาท รวมเป็นเงิน 600.00 บาท

ค่าชุดทดสอบความเค็มในอาหาร 1 ชุดๆละ 1,500 บาท รวมเป็นเงิน1,500.00 บาท

ค่าจัดทำป้ายร้านอาหาร ร้านค้าที่เข้าร่วมกิจกรรมลดหวาน เค็ม จำนวน 2,000 บาท

ค่ากระเป๋าปฐมพยาบาลสำหรับใส่อุปกรณ์ เครื่องมือ จำนวน 1,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
19 พฤษภาคม 2568 ถึง 23 พฤษภาคม 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้บริโภคเกิดความปลอดภัย ป้องกัน และลดการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
8825.00

กิจกรรมที่ 4 อบรมผู้นำ อย.น้อยในโรงเรียน ในเขตเทศบาลเมืองพัทลุง

ชื่อกิจกรรม
อบรมผู้นำ อย.น้อยในโรงเรียน ในเขตเทศบาลเมืองพัทลุง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชุมและให้ความรู้ อสม.นักวิทย์ฯ เทศบาลเมืองพัทลุง เกี่ยวกับการปฏิบัติการเชิงรุกอบรมผู้นำอย.น้อยในโรงเรียน

ลงปฏิบัติการเชิงรุกอบรมผู้นำอย.น้อยในโรงเรียน ในเขตเทศบาลเมืองพัทลุง

พักรับประทานอาหารกลางวัน

ลงปฏิบัติการเชิงรุกอบรมผู้นำอย.น้อยในโรงเรียน ในเขตเทศบาลเมืองพัทลุง(ต่อ)

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มของอสม.และนักเรียน อย.น้อย จำนวน ๒ มื้อๆ ละ 30บาท จำนวน 55 คน จำนวน 3,300.00 บาท

ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 1 มื้อๆ ละ 60 บาท จำนวน 25 คนเป็นเงิน 1,500.00บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
2 มิถุนายน 2568 ถึง 6 มิถุนายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

นักเรียนมีความรู้ เกี่ยวกับ ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สามารถเลือกบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ปลอดภัยได้ด้วยตนเอง เกิดเครือข่ายอย.น้อย ในการเฝ้าระวังความปลอดภัยของอาหารและยารอบรั้วโรงเรียน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
4800.00

กิจกรรมที่ 5 ตรวจอาหารและยารอบรั้ววัด โรงเรียน โรงพยาบาล ในเขตเทศบาลเมืองพัทลุง

ชื่อกิจกรรม
ตรวจอาหารและยารอบรั้ววัด โรงเรียน โรงพยาบาล ในเขตเทศบาลเมืองพัทลุง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชุมและให้ความรู้ อสม.นักวิทย์ฯ เทศบาลเมืองพัทลุง เกี่ยวกับการตรวจอาหารและยา รอบรั้วโรงเรียน

ลงปฎิบัติการตรวจอาหารและยา รอบรั้วโรงเรียน ในเขตเทศบาลเมืองพัทลุง

พักรับประทานอาหารกลางวัน

ลงปฎิบัติการตรวจอาหารและยา รอบรั้วโรงเรียน ในเขตเทศบาลเมืองพัทลุง(ต่อ)

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 2 มื้อๆ ละ 30 บาท จำนวน 30 คน จำนวน 1,800.00 บาท

ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 1 มื้อๆ ละ 65 บาท จำนวน 30 คนเป็นเงิน 1,925.00บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
9 มิถุนายน 2568 ถึง 30 มิถุนายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เกิดการเฝ้าระวัง และให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการที่ จำหน่ายอาหารและยา รอบรั้ววัด โรงเรียนและโรงพยาบาล อาหารและยา รอบรั้ววัด โรงเรียน โรงพยาบาล มีความปลอดภัยกับ เด็กและประชาชนผู้บริโภค

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
3725.00

กิจกรรมที่ 6 เก็บตัวอย่างน้ำมันทอดซ้ำและทดสอบสารโพลาร์ในน้ำมันทอดซ้ำ

ชื่อกิจกรรม
เก็บตัวอย่างน้ำมันทอดซ้ำและทดสอบสารโพลาร์ในน้ำมันทอดซ้ำ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชุมและให้ความรู้ อสม.นักวิทย์ฯ เทศบาลเมืองพัทลุง เกี่ยวกับการเก็บตัวอย่าง และตรวจสารโพลาร์ในน้ำมันทอดซ้ำ

ลงปฎิบัติการเก็บตัวอย่างน้ำมันทอดซ้ำ จากร้านอาหาร,หาบเร่,แผงลอย ในเขตเทศบาลเมืองพัทลุง

พักรับประทานอาหารกลางวัน

ลงปฎิบัติการทดสอบสารโพลาร์ในน้ำมันทอดซ้ำ

สรุปผลการดำเนินงาน ปัญหาอุปสรรค

มอบเกียรติบัตร อาหารปลอดภัย แก่ร้านที่มีปริมาณสารโพลาร์ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน ๒ มื้อๆ ละ 30 บาท จำนวน 25 คน จำนวน 1,500.00 บาท

ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 1 มื้อๆ ละ 65 บาท จำนวน 25 คนเป็นเงิน 1,625.00บาท

ค่าเกียรติบัตร, แผ่นพับ และอุปกรณ์สื่อ เป็นเงิน 2,500 บาท

ค่าชุดทดสอบสารโพลาร์ เป็นเงิน 4,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
21 กรกฎาคม 2568 ถึง 25 กรกฎาคม 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เกิดการเฝ้าระวัง ให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการร้านอาหารประเภททอด ผู้บริโภค ได้รับประทานอาหารประเภททอดที่ปลอดภัย ผู้บริโภคสามารถเลือกบริโภค ร้านที่จำหน่ายอาหารประเภททอดที่ปลอดภัย จากสติ๊กเกอร์ "ร้านนี้น้ำมันทอดซ้ำ ปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ" ที่ติดที่ร้าน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
9625.00

กิจกรรมที่ 7 ประชุมฟื้นฟูความรู้พัฒนาศักยภาพและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ อสม.นักวิทย์ฯเทศบาลเมืองพัทลุง

ชื่อกิจกรรม
ประชุมฟื้นฟูความรู้พัฒนาศักยภาพและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ อสม.นักวิทย์ฯเทศบาลเมืองพัทลุง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชุมฟื้นฟูความรู้พัฒนาศักยภาพและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ อสม.นักวิทย์ฯเทศบาลเมืองพัทลุง

พักรับประทานอาหารกลางวัน

ลงปฎิบัติการตรวจอาหารและยา รอบรั้วโรงเรียน ในเขตเทศบาลเมืองพัทลุง(ต่อ)

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 2 มื้อๆ ละ 30 บาท จำนวน 30 คน จำนวน 1,800.00 บาท

ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 1 มื้อๆ ละ 65 บาท จำนวน 30 คนเป็นเงิน 1,925.00บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
25 สิงหาคม 2568 ถึง 27 สิงหาคม 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

มี อสม.นักวิทย์ฯที่มีความรู้ ความสามารถ ในการตรวจสอบผลิตภัณฑ์สุขภาพ เชี่ยวชาญงานด้านการคุ้มครองผู้บริโภค

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
3725.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 35,325.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

มีการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน ส่งเสริมป้องกัน ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง และเกิดเครือข่ายที่สามารถแจ้งเตือนภัยด้านสุขภาพได้อย่างรวดเร็ว ในเขตพื้นที่เทศบาลเมืองพัทลุง


>