กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน ศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจำจังหวัดนราธิวาส

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองนราธิวาส

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน ศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจำจังหวัดนราธิวาส

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองนราธิวาส

ศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจำจังหวัดนราธิวาส

นางสาววราภรณ์ สุขบุญทอง

ศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจำจังหวัดนราธิวาส

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานปัญหาสุขภาพอุบัติใหม่

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของครูและบุคลากรทางการศึกษามีความรู้ในการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน

 

70.00
2 ร้อยละของครูและบุคลากรทางการศึกษาทบทวนทักษะในการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานสามารถช่วยเหลือนักเรียนได้อย่างปลอดภัยก่อนถึงโรงพยาบาล

 

70.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อพัฒนาความรู้ในการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานให้แก่ครูและบุคลากรทางการศึกษา

ร้อยละ 70 ครูและบุคลากรทางการศึกษามีความรู้ในการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน

70.00 70.00
2 เพื่อให้ครูและบุคลากรทางการศึกษาทบทวนทักษะในการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานสามารถช่วยเหลือนักเรียนได้อย่างปลอดภัยก่อนถึงโรงพยาบาล

ร้อยละ 70 ของครูและบุคลากรทางการศึกษาสามารถปฐมพยาบาลเบื้องต้นได้และการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน

70.00 70.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
ครูและบุคลากรทางการศึกษา 80

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 29/11/2024

กำหนดเสร็จ 30/09/2025

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมที่ 1 : จัดกิจกรรมในรูปแบบการให้ความรู้เรื่องการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 1 : จัดกิจกรรมในรูปแบบการให้ความรู้เรื่องการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จัดกิจกรรมในรูปแบบการให้ความรู้เรื่องการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน โดยวิทยากรจากทีมเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน กลุ่มงานอุบัติเหตุฉุกเฉิน โรงพยาบาลนราธิวาสราชนครินทร์

  • ค่าป้ายไวนิลโครงการ 3*1.0 เมตร เป็นเงิน 900 บาท
  • ค่าป้ายไวนิล (โรลอัพ) ขนาด 80*180 เมตร เป็นเงิน 2,500 บาท
  • ค่าวิทยากร 3 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 600 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 80 คน (ผู้เข้าร่วมอบรมฯ) คนละ 35 บาท จำนวน 2 มื้อเป็นเงิน 5,600 บาท
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 4 คน (สำหรับวิทยากร) คนละ 35 บาท จำนวน 2 มื้อเป็นเงิน 280 บาท
  • ค่าอาหารกลางวันและเครื่องดื่ม 8 0คน (ผู้เข้าร่วมอบรมฯ)คนละ 70 บาท เป็นเงิน5,600 บาท
  • ค่าอาหารกลางวันและเครื่องดื่ม 4คน (สำหรับวิทยากร) คนละ 70 บาท เป็นเงิน280 บาท
  • ค่าวัสดุ
  • ปากกาลูกลื่น 80 แท่ง แท่งละ 10 บาท เป็นเงิน 800 บาท
  • แฟ้มกระดุม จำนวน 80 แฟ้ม ราคา 30 บาท เป็นเงิน 2,400 บาท
  • กระดาษ A4 จำนวน 5รีม รีมละ 130 บาท เป็นเงิน 650 บาท (เอกสารประกอบการอบรม/ให้ความรู้)
  • ค่าจัดทำเกียรติบัตรการเข้าร่วมอบรม จำนวน 80 ฉบับ ฉบับละ 30 บาท เป็นเงิน 2,400 บาท

รวมทั้งสิ้น...........23,210............บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
29 พฤศจิกายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ร้อยละ 70 ของครูและบุคลากรทางการศึกษามีความรู้ในการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
23210.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมที่ 2 : จัดกิจกรรมภาคปฏิบัติในการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 2 : จัดกิจกรรมภาคปฏิบัติในการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมที่ 2 เป็นการจัดกิจกรรมภาคปฏิบัติในการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน โดยแบ่งออกเป็น 4 ฐาน ดังนี้
- ฐานที่ 1 การปฐมพยาบาลเบื้องต้น เช่น การทำแผล การแนะนำการรับประทานยาเบื้องต้น ทั้งยาภายในและภายนอก การดามข้อมือ ข้อศอก ข้อเท้า ในกรณีที่เกิดการหักของกระดูก
- ฐานที่ 2 การช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานในผู้ใหญ่ เป็นฐานที่สอนการช่วยชีวิตเบื้องต้น วิธีการกดนวดหัวใจ การวางมือ การออกแรงกดเพื่อปั๊มหัวใจ และสาธิตการใช้เครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้าชนิดอัตโนมัติ (Automated External Defibrillator, AED) - ฐานที่ 3 การช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานในเด็ก เป็นฐานที่สอนการช่วยชีวิตเบื้องต้นในเด็ก การวางนิ้วมือในการกดนวดหัวใจ วิธีการกดนวดหัวใจ
- ฐานที่ 4 การช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน เมื่อมีอาหารติดคอ และมีอาการชัก เป็นฐานที่สาธิตวิธีการช่วยชีวิตเมื่อมีอาหารไปติดที่หลอดลม การสังเกตอาการของบุคคลที่มีอาหารหรือของเล่นไปติดที่หลอดลม และวิธีการช่วยเหลทอเบื้อต้นเมื่อมีอาการชัก

  • ค่าวิทยากรกลุ่ม กลุ่มละ 1 คน จำนวน 4 กลุ่ม รวมทั้งสิ้น 4 คน

  • กลุ่มที่ 1 การปฐมพยาบาลเบื้องต้น เช่นการทำแผล การดาม การบาดเจ็บจากกีฬา เป็นต้น จำนวน 1 คน 3 ชม.ๆละ 300 บาท เป็นเงิน 900 บาท

  • กลุ่มที่ 2 การช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานในผู้ใหญ่ จำนวน 1 คน 3 ชม.ๆละ 300 บาท เป็นเงิน 900 บาท
  • กลุ่มที่ 3 การช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน ในเด็ก จำนวน 1 คน 3 ชม.ๆละ 300 บาท เป็นเงิน 900 บาท
  • กลุ่มที่ 4 การช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน เมื่อมีอาหารติดคอ และเมื่อมีอาการชัก จำนวน 1 คน 3 ชม.ๆละ 300 บาท เป็นเงิน 900 บาท

รายละเอียดค่าใช้จ่ายในการจัดเตรียมยาเวชภัณฑ์สำหรับการปฐมพยาบาล

  • เจลประคบร้อน/เย็น 4 แผ่นแผ่นละ 250 บาท ราคา 1,000 บาท
  • ยาทาแก้ฟกช้ำ 3 ตลับ ตลับละ 60 บาท เป็นเงิน 180 บาท
  • ปรอทวัดไข้ 2 อัน อันละ 150 บาท เป็นเงิน 300 บาท
  • สำลีก้าน 5 ถุง ถุงละ50 บาทเป็นเงิน 250 บาท
  • ไซริงค์ ชนิดไม่มีเข็ม ขนาด 10 ml 10 ชิ้น ชิ้นละ 5 บาท เป็นเงิน 50 บาท
  • ชุดเซตทำแผลปลอดเชื้อ (แบบใช้ครั้งเดียว) 50 ชุด ชุดละ 15 บาท เป็นเงิน 750 บาท
  • ยาทาแก้คัน จำนวน 3 ขวด ขวดละ 60 บาท เป็นเงิน 180 บาท
  • พาราเซตตามอล ชนิดน้ำ 5 ขวด ขวดละ 40 บาท เป็นเงิน 200บาท
  • transpore 1 นิ้วจำนวน 2 กล่องกล่องล่ะ 400 บาท เป็นเงิน 800 บาท
  • น้ำเกลือล้างแผล จำนวน 5 ขวด ขวดละ 40 บาท เป็นเงิน 200 บาท
  • เบตาดีน จำนวน 5 ขวด ขวดละ 50 บาท เป็นเงิน 250 บาท
  • ยากำจัดเหา จำนวน 2 ขวด ขวดละ 60 บาท เป็นเงิน 120 บาท
  • ผ้าก๊อตพับสำเร็จรูป ปลอดเชื้อจำนวน 2 กล่อง กล่องละ 150 บาท เป็นเงิน 300 บาท
  • ยาแก้ไอ ชนิดน้ำ จำนวน 2 ขวด ขวดละ 40 บาท เป็นเงิน 80 บาท

รวมทั้งสิ้น ......8,260.......บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
29 พฤศจิกายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ร้อยละ 70 ของครูและบุคลากรทางการศึกษาสามารถปฐมพยาบาลเบื้องต้นได้และการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
8260.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 31,470.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ครูและบุคลากรทางการศึกษามีความรู้ในการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน
2. ครูและบุคลากรทางการศึกษาสามารถปฐมพยาบาลเบื้องต้นได้และการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน


>