กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งใหญ่

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการเสริมพลัง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเข้มข้นและลดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเบาหวาน

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งใหญ่

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งใหญ่

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งใหญ่ ต.ทุ่งใหญ่ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง , แผนงานกิจกรรมทางกาย , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1

ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลไม่ได้

30.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้วยตนเองได้อย่างเหมาะสม เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี

๑. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับโรค การปฏิบัติดูแลตนเอง และการป้องกันภาวะแทรกซ้อนได้อย่างน้อย ร้อยละ ๗๐ ๒. ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการปรับลดยาเบาหวาน หรือไม่มีการปรับขนาดยาเพิ่มขึ้น หรือหยุดยาได้

0.00
2 เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี

ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถคอบคุมระดับน้ำตาลได้อย่างน้อย 5 คน โดยมีเกณฑ์กำหนด ดังนี้
- ระดับ HbA&C ไม่เกิน ๗ % (ในผู้ป่วยที่ไม่มีโรคร่วม) - ระดับ HbA๑C ไม่เกิน ๘ % (ในผู้ป่วยที่ไม่โรคร่วม)

0.00
3 เพื่อลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากภาวะโรคเบาหวาน ตา ไต เท้า

ผู้เข้าร่วมโครงการไม่มีภาวะแทรกซ้อน ตา ไต เท้า จากภาวะโรคเบาหวานเพิ่มขึ้น

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 30
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/04/2025

กำหนดเสร็จ 30/09/2025

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเข้มข้น

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเข้มข้น
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ขั้นเตรียมการ
    -ประชาสัมพันธ์และประชุมแผนงานโครงการกับผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง

- ดำเนินการคัดกรองผู้ที่เป้นโรคเบาหวานที่ควบคุมไม่ได้
- เตรียมอุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยกลุ่มเป้าหมาย

  1. ขั้นดำเนินการ
    -ให้ความรู้เกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดระดับน้ำตาลในเลือด -ดำเนินกิจกรรม ปรับเปลี่ยนทั้งหมด 4 ครั้ง (เดือนละ 1 ครั้ง )
  2. ขั้นประเมินผล
    -ประเมินและติดตามระดับน้ำตาลในเลือดและบันทึกการติดตามในคู่มือการปรับเปลี่ยน -มอบวุฒิบัตรแก่ผู้ที่ผ่านโครงการและมอบเกียรติบัตรแก่ผู้ที่เป็นต้นแบบการปรับเปลี่ยนที่ดี

รายละเอียดงบประมาณที่ใช้
1.ป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ ขนาด 1.2*2.4เมตร จำนวน 1 ป้าย เป็นเงิน 450 บาท
2.เอกสารประเมินและปากกา 15 บาท/ชุด ชุดละ 15 x 30 = 450 บาท 3.คู่มือปรับเปลี่ยน 30 เล่ม 30 x 30 = 900 บาท 4. เข็มเจาะน้ำตาลปลายนิ้ว จำนวน 1 กล่อง กล่องละ 750 บาท
5. Strip ตรวจน้ำตาลปลายนิ้ว (กล่องละ 50 แถบ) จำนวน 2 กล่อง กล่องละ 750 บาท เป็น 750 x 2 = 1,500 บาท 6.เครื่องวัดความดันดิจิตอล 1 เครื่อง เครื่องละ 3,000 บาท
7.แอลกอฮอล์ จำนวน 2 ขวด ขวดละ 100 บาท เป็น 100 x 2 = 200 บาท 7.ค่าใบประกาศเกียรติบัตรขนาด A4 ใบละ 20 บาท จำนวน 30 คน เป็น 20 x 30 = 600 บาท 8.กรอบใส่เกียรติบัตร จำนวน 5 อัน อันละ 150 บาท เป็น 150 x 5 = 750 บาท กิจกรรมปรับเปลี่ยน จำนวน 4 ครั้ง (เดือนละ 1 ครั้ง ) กิจกรรมครั้งที่ 1
-อาหารว่าง จำนวน 30 ชุด ชุดละ 30 บาท เป็น 30 x 30 = 900 บาท -ค่าวิทยากร 3 ชม. ชม.ละ 600 บาท เป็น 600 x 3 = 1,800 บาท
กิจกรรมครั้งที่ 2
-อาหารว่าง จำนวน 30 ชุด ชุดละ 30 บาท เป็น 30 x 30 = 900 บาท -ค่าวิทยากร 3 ชม. ชม.ละ 600 บาท เป็น 600 x 3 = 1,800 บาท
กิจกรรมครั้งที่ 3
-อาหารว่าง จำนวน 30 ชุด ชุดละ 30 บาท เป็น 30 x 30 = 900 บาท -ค่าเจาะเลือดตรวจระดับน้ำตาลสะสม HbA1C คนละ 350 บาท จำนวน 30 คน เป็น 350 x 30 = 10,500 บาท กิจกรรมครั้งที่ 4
-อาหารว่าง จำนวน 30 ชุด ชุดละ 30 บาท เป็น 30 x 30 = 900 บาท -ค่าวิทยากร 3 ชม. ชม.ละ 600 บาท เป็น 600 x 3 = 1,800 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. ผู้ป่วยมีระดับน้ำตาลในเลือดจากการเจาะ HbA1C ลดลงจากเดิม
  2. ผู้ป่วยมีระดับ BMI ลดลงจากเดิม
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
28100.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 28,100.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?


>