กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำไพล รหัส กปท. L5192

อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2568 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำไพล
กลุ่มคน
นายศุภกร ชูแว่น ตำแหน่ง แพทย์แผนไทย ผู้รับผิดชอบโครงการ
3.
หลักการและเหตุผล

การแพทย์แผนไทย เป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นที่มีบทบาทสำคัญในการดูแลสุขภาพของประชาชน โดยอาศัยองค์ความรู้ด้านศาสตร์การแพทย์แผนไทย เช่น การใช้สมุนไพรและการนวดรักษา ซึ่งครอบคลุมทั้งด้านการรักษาพยาบาล การบำบัด ฟื้นฟูสุขภาพ และการส่งเสริมสุขภาวะของประชาชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำไพล ในฐานะหน่วยบริการปฐมภูมิที่มุ่งเน้นการดูแลสุขภาพอย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ ได้บูรณาการ การแพทย์แผนไทย เข้ากับระบบบริการสุขภาพของโรงพยาบาล โดยมี คลินิกแพทย์แผนไทย เป็นศูนย์กลางในการให้บริการ ทั้งด้านการรักษาและการส่งเสริมสุขภาพ นอกจากนี้ โรงพยาบาลยังให้ความสำคัญกับ การขยายงานด้านแพทย์แผนไทย เพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงการรักษาที่ครอบคลุมและเป็นองค์รวมมากขึ้น อีกทั้งยังสนับสนุน การมีส่วนร่วมของชุมชน ในการพัฒนาระบบบริการด้านการแพทย์แผนไทย ซึ่งถือเป็นก้าวสำคัญในการเสริมสร้างระบบสุขภาพที่ยั่งยืนและเป็นประโยชน์ต่อประชาชนในสังคม

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นในการดูแลสุขภาพประชาชน
    ตัวชี้วัด : ประชาชนในท้องถิ่นได้รับการดูแลสุขภาพอย่างปลอดภัย
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 60.00
  • 2. การอนุรักษ์และพัฒนาภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยในท้องถิ่นและในรั้วโรงเรียน
    ตัวชี้วัด : 1.โรงเรียนเป็นหล่งเรียนรู้เกี่ยวกับสมุนไพรและภูมิปัญญาการแพทย์แแผนไทย 2. ส่งเสริมการดูแลลสุขภาพในชุมชนด้วยสมุนไพรในท้องถิ่น 3. ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ เพื่อให้เด็กทารกได้รับพัฒนาการที่เหมาะสม
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 60.00
  • 3. เพิ่มการเข้าถึงบริการแพทย์แผนไทยในชุมชน
    ตัวชี้วัด : ประชาชนในชุมชนได้รับการบริการแพทย์แผนไทยอย่างทั่วถึง
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 60.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. ส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นในการดูแลสุขภาพประชาชน
    รายละเอียด
    1. สำรวจและขึ้นทะเบียนหมอพื้นบ้านในชุมชน จำนวน 6 หมู่บ้าน
    2. สำรวจและขึ้นทะเบียนผู้ช่วยแพทย์แผนไทยในชุมชน จำนวน 6 หมู่บ้าน
    3. อบรมฟื้นความรู้แก่หมอพื้นบ้าน/ผู้ช่วยแพทย์แผนไทย จำนวน 15 คน
      • ค่าอาหารว่างผู้เข้าร่วมอบรม จำนวน 15 คนๆละ 1 มื้อๆละ 30 บาท เป็นเงิน 450.00 บาท
      • ค่าตอบแทนวิทยากรในการให้ความรู้ จำนวน 1 คน จำนวน 3 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท
    4. จัดทำทำเนียบหมอพื้นบ้าน/ผู้ช่วยแพทย์แผนไทยในชุมชน
      • ค่าทำโฟมบอร์ดทำเนียบหมอพื้นบ้านและผู้ช่วยแพทย์แผนไทย ขนาดสูง 90 ซม.*120ซม. จำนวน 1 แผ่นๆละ 900 บาท
    5. สำรวจสมุนไพรในท้องถิ่นโดยให้ อสม.สำรวจในชุมชน รายครัวเรือน
      • แบบสำรวจสมุนไพรในชุมชน จำนวน 111 แผ่นๆละ 2 บาท เป็นเงิน 222.00 บาท
    งบประมาณ 3,372.00 บาท
  • 2. การอนุรักษ์และพัฒนาภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยในท้องถิ่นและในรั้วโรงเรียน
    รายละเอียด
    1. การส่งเสริมการปลูกพืชสมุนไพรในรั้วโรงเรียน จำนวน 6 โรงเรียน โดยคัดเลือกสมุนไพรที่ดูแลได้ง่ายและสามารถใช้ประโยชน์ได้จริง ได้แก่ ฟ้าทะลายโจร ตะไคร้ ขิง ว่านหางจระเข้ และใบเตย
      • ค่าใช้จ่ายสำหรับการจัดทำแปลงสมุนไพรสาธิต จำนวน 9000.00 บาท
      • ค่าป้ายอะคริลิคสำหรับติดบอกชื่อและสรรพคุณสมุนไพร ขนาด 20*40 ซม.จำนวน 5 ป้ายๆ ละ 250 บาท เป็นเงิน 1250 บาท จำนวน 6 โรงเรียน รวมเป็นเงิน 7500 บาท
    2. การจัดอบรมการเลือกใช้สมุนไพรในรั้วโรงเรียนและในชุมชนสำหรับนักเรียน จำนวน 6 โรงเรียนๆ ละ 60 คน
      • ค่าอาหารว่าง จำนวน 360 คนๆ ละ 30 บาท รวมเป็นเงิน 10800.00 บาท
      • ค่าวิทยากร จำนวน 3 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาม เป็นเงิน 1800 บาท จำนวน 6 โรงเรียน รวมเป็นเงิน 10800.00 บาท
    3. การจัดกิจกรรมอบรมการเลือกใช้สมุนไพรในท้องถิ่นดูแลสุขภาพ และการทำลูกประคบจากสมุนไพรในท้องถิ่น ผู้สูงอายุจำนวน 50 คน
      • ค่าอุปกรณ์สอนทำลูกประคบสมุนไพร 50 ชุด ชุดละ 50 บาท เป็นเงิน 2500 บาท
      • ค่าวิทยากรจัดกิจกรรมอบรมการใช้พืชสมุนไพรในท้องถิ่นดูแลสุขภาพ จำนวน 3 ชั่วโมงๆ ละ 600 รวมเป็นเงิน 1800 บาท
      • ค่าอาหารว่าง จำนวน 50 คนๆ ละ 30 บาท รวมเป็นเงิน 1500.00 บาท
      • ค่าป้ายไวนิลโครงการ ขนาด 1 x 3 เมตร จำนวน 1 ป้าย เป็นเงิน 450.00 บาท
    4. การส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ จำนวนมารดาหลังคลอด 20 คน
      • ค่าอุปกรณ์สำหรับการทำชาชง จำนวน 20 ชุดๆ ละ 50 บาท รวมเป็นเงิน 1000 บาท
      • ค่าสมุนไพรชาชง ได้แก่ ขิง หัวปลี และกระเจี๊ยบแดง ชนิดละ 200 บาท รวมเป็นเงิน 600 บาท
      • ค่าวิทยากรการจัดอบรมการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ การนวดเต้านม จำนวน 3 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท รวมเป็นเงิน 1800 บาท
      • ค่าอาหารว่าง จำนวน 20 คนๆ ละ 30 บาท รวมเป็นเงิน 600 บาท
    งบประมาณ 48,350.00 บาท
  • 3. การเพิ่มการเข้าถึงบริการแพทย์แผนไทยในชุมชน
    รายละเอียด
    1. เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการแแพทย์แผนไทยทั้งแบบเชิงรุกและเชิงรับให้แก่ประชาชนในพื้นที่
      1.1 แบบเชิงรุก ได้แก่ การฟื้นฟูมารดาหลังคลอด การเยี่ยมบ้านผู้ป่วยติดเตียง ผู้ป่วยติดบ้าน และผู้พิการ เพื่อให้การบำบัดฟื้นฟูด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย การบริหารกล้ามเนื้อ การจ่ายยาสมุนไพร และการส่งเสริมสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยแก่ผู้ป่วยและผู้ดูแลผู้ป่วย
      1.2 แบบเชิงรับ เพื่มหัตถการในการให้บริการแก่ผู้ป่วย เพื่อเพิ่มทางเลือกในการรักษาโรคทางการแพทย์แผนไทย ได้แก่ หัตถการเผายา พอกเข่า และการแช่มือแช่เท้า
      • แบบประเมินสุขภาพมารดาหลังคลอด ผู้ป่วยติดเตียง ผู้ป่วยติดบ้าน และผู้พิการ จำนวน 100 แผ่นๆ ละ 2 บาท รวมเป็นเงิน 200.00 บาท
      • สมุนไพรสำหรับหัตถการเผายา พอกเข่า และการแช่มือแช่เท้า รวมเป็นเงิน 5838.00 บาท
    งบประมาณ 6,038.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 21 มีนาคม 2568 ถึง 22 ธันวาคม 2568

8.
สถานที่ดำเนินการ

หมู่ที่ 1, 2, 3, 9, 11 และ 12 ของตำบลลำไพล

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 57,760.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  1. ประชาชนในชุมชนได้รับการดูแลสุขภาพอย่างปลอดภัย
  2. โรงเรียนเป็นแหล่งเรียนรู้เกี่ยวกับสมุนไพรและภูมิปัญญาการแพทย์แแผนไทย
  3. ส่งเสริมการดูแลลสุขภาพในชุมชนด้วยสมุนไพรในท้องถิ่น
  4. ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
  5. ประชาชนในชุมชนได้รับการบริการแพทย์แผนไทยอย่างทั่วถึง
11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำไพล รหัส กปท. L5192

อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2568
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำไพล
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำไพล รหัส กปท. L5192

อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 57,760.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................