กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละกาโปร์ รหัส กปท. L8420

อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2568 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการเข้าสุนัตหมู่เยาวชนชาย สะอาด ปลอดภัย ห่างไกลโรค ตำบลตะโละกาโปร์ ประจำปี 2568
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตะโละกาโปร์
กลุ่มคน
นายอับดุลเลาะ ตาเละ
3.
หลักการและเหตุผล

ตามหลักคำสอนศาสนาอิสลามเรื่องความสะอาด ความว่า “แท้จริงอัลลอฮจะโปรดผู้ที่สำนึกตัวและชอบผู้ที่รักษาความสะอาด” (สูเราะห์อัลบากอเราะฮ์: 222) การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย (การเข้าสุนัต) คือ การทำความสะอาดร่างกายที่ต้องตัดแต่งเพื่อขจัดความสกปรกและเหตุผลทางการแพทย์เกี่ยวกับเรื่องนี้ ท่านนบีมูฮำหมัด ศ็อลฯ ได้ให้โอวาทไว้ดังนี้ ธรรมชาติ 5 สิ่ง (ในร่างกายมนุษย์) ที่ต้องได้รับการตกแต่ง คือการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ ขจัดขนในร่มผ้า ติดเล็บและการตกแต่งหนวดเครา การตัดหนังหุ้มปลายอวัยวะสืบพันธ์ของชาย เพื่อความสะอาดเป็นสำคัญ จากงานวิจัยพบว่าการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย สามารถลดความเสี่ยงการติดเชื้อHIV ได้ร้อยละ 50-60 นอกจากนี้การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย ผู้ขลิบจะลดโอกาสเกิดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เช่น ซิฟิลิส แผลริมอ่อน และลดความเสี่ยงของมะเร็งองคชาติ และถ้าหากขลิบในเด็กทารก ก็จะลดโอกาสเกิดการติดเชื้อของทางเดินปัสสาวะในเด็กได้ด้วย ผู้หญิงที่เป็นคู่ของผู้ชายที่ขลิบจะลดความเสี่ยงของการเกิดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และลดอัตราเสี่ยงการเกิดมะเร็งปากมดลูกด้วย จากบริบทในเขตเทศบาลตำบลตะโละกาโปร์นับถือศาสนาอิสลาม 100 % ของพื้นที่ พบว่า การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย หรือ “คีตาล(ภาษาอาหรับ) หรือ “ทำสุนัต”(ภาษามลายู) เป็นประเพณีของชุมชน เป็นประเพณีที่คนเฒ่าคนแก่เคยทำกัน ซึ่งเป็นกิจกรรมการกระตุ้นให้เด็กและเยาวชนที่เข้าสุนัต มีความตระหนัก เพราะกำลังเติบโตเป็นผู้ใหญ่ โดยเฉพาะเรื่องความรับผิดชอบในหน้าที่ การรักษาละหมาด 5 เวลา เป็นต้น
ในปัจจุบันการทำคิตานที่ถูกสุขอนามัยนั้น ต้องมีค่าใช้จ่ายในการใช้จ่ายที่สูงมากพอสมควรทำให้ผู้ปกครองของเยาวชนไม่มีงบประมาณเพียงพอที่จะจ่ายค่าใช้จ่ายในการทำได้ ทำให้ผู้ปกครองหันไปพึ่งกับผู้เฒ่าผู้แก่ในหมู่บ้านหรือตำบลอื่นที่มีประสบการณ์ในการทำคิตานแบบโบราณแทน มีราคาที่ถูกกว่า ซึ่งบางแห่งยังไม่ถูกสุขอนามัยเท่าที่ควร เสี่ยงต่อการติดเชื้อมาก จึงเป็นปัญหาอย่างหนึ่งของผู้ปกครองในตำบลตะโละกาโปร์ ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตะโละกาโปร์ ได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้คิดทำโครงการเข้าสุนัตหมู่เยาวชนชาย สะอาด ปลอดภัย ห่างไกลโรค ตำบลตะโละกาโปร์ ประจำปี 2568 ขึ้น เพื่อแบ่งเบาภาระให้กับผู้ปกครอง และลดเความเสี่ยงของเด็กเยาวชนที่ทำคิตาน

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อเยาวชนและผู้ปกครองมีความรู้และตระหนักในการดูแลสุขภาพตนเอง รักษาความสะอาดร่างกาย และไม่ยุ่งเกี่ยวกับอบายมุข
    ตัวชี้วัด : 2. ร้อยละ 100 ของเยาวชนและผู้ปกครอง มีความรู้และตระหนักในการดูแลสุขภาพตนเอง รักษาความสะอาดร่างกาย และไม่ยุ่งเกี่ยวกับอบายมุข
    ขนาดปัญหา 10.00 เป้าหมาย 100.00
  • 2. เพื่อลดปัญหา ประชาชนที่มีพฤติกรรมเสี่ยงเพศสัมพันธ์
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนที่มีพฤติกรรมเสี่ยงเพศสัมพันธ์ ลดลง
    ขนาดปัญหา 30.00 เป้าหมาย 5.00
  • 3. เพื่อเพิ่มการมุสลิมขลิบปลายหุ้มหนังอวัยวะเพศ ถูกต้องตามหลักการแพทย์เยาวชนชายขึ้น
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของเยาวชนชายมุสลิมที่ขลิบปลายหุ้มหนังอวัยวะเพศ ถูกต้องตามหลักการแพทย์
    ขนาดปัญหา 60.00 เป้าหมาย 100.00
  • 4. เพื่อลด ภาวะเสี่ยงการมีเพศสัมพันธ์ ของเยาวชน (อายุ 16-19 ปี)
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของเยาวชน (อายุ 16-19 ปี) ที่มีภาวะเสี่ยงการมีเพศสัมพันธ์ ลดลง
    ขนาดปัญหา 3.00 เป้าหมาย 0.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. ชี้แจงโครงการแก่ทีมงาน
    รายละเอียด
    • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 20 คนๆละ 30 บาท จำนวน 1 มื้อ
    งบประมาณ 600.00 บาท
  • 2. อบรมให้ความรู้และออกบริการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศแก่เยาวชน
    รายละเอียด
    • ค่าตอบแทนบริการทางการแพทย์ 1,200 บาท x 50 คนเป็นเงิน 60,000 บาท
    • ค่าอาหารกลางวันของเยาวชนเพศชายและผู้ปกครอง จำนวน 100 คนๆ ละ 60 บาท/มื้อ จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 6,000 บาท
    • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 100 คนๆละ 30 บาท 1 มื้อ เป็นเงิน 3,000 บาท
    • ค่าป้ายไวนิลโครงการ ขนาด 1.2 x 2.5 ม. (ตร.ม.ละ 250 บาท) จำนวน 1 ผืนๆ ละ 750 บาท เป็นเงิน 750 บาท
    • ค่าผ้าสำหรับเปลี่ยนขณะขลิบหุ้มปลายจำนวน 50 ผืนๆ ละ 100 บาท เป็นเงิน 5,000 บาท
    • ค่าวิทยากร จำนวน 2 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท
    งบประมาณ 75,950.00 บาท
  • 3. ติดตามอาการหลังจากขลิบ
    รายละเอียด
    • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 30 บาท X 50 คน X 1 ครั้ง เป็นเงิน 1,500 บาท
    งบประมาณ 1,500.00 บาท
  • 4. สรุปผลการดำเนินงาน
    รายละเอียด

    ไม่มีค่าใช้จ่าย

    งบประมาณ 0.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 เมษายน 2568 ถึง 30 มิถุนายน 2568

8.
สถานที่ดำเนินการ

ตำบลตะโละกาโปร์

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 78,050.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  1. เยาวชนตะโละกาโปร์ได้รับการทำสุนัต(ขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย)ที่ถูกสุขลักษณะ
  2. สามารถลดภาวะเสี่ยงของการออกเลือด ภาวะแทรกซ้อน (การอักเสบรุนแรง) และการติดเชื้อหลังจากได้รับการทำสุนัต
  3. สามารถลดภาระค่าใช้จ่ายของผู้ปกครองในการทำสุนัต
11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละกาโปร์ รหัส กปท. L8420

อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2568
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละกาโปร์
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละกาโปร์ รหัส กปท. L8420

อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 78,050.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................