2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
3. สถานการณ์
จากสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกซึ่งมีผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกทั้งในระดับประเทศ ระดับภาค และในจังหวัดพัทลุงในอัตราที่สูงกว่าอัตราป่วยที่กำหนด คือ 50 ต่อแสนประชากร โดยในเขตอำเภอตะโหมด มีผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ตั้งแต่ เดือน 1 มกราคม 2567 -13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2567แล้วจำนวน162รายคิดเป็นอัตราป่วยเท่ากับ523.88 ต่อแสนประชากร และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตะโหมดมีผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกจำนวน16รายคิดเป็นอัตราป่วยเท่ากับ456.88 ต่อแสนประชากร
จากสถานการณ์ดังกล่าวข้างต้นจะเห็นได้ว่าโรคไข้เลือดออก เป็นปัญหาทางด้านสาธารณสุขที่สำคัญของอำเภอตะโหมดและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตะโหมด ที่จำเป็นต้องแก้ไขปัญหาโดยเร่งด่วน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตะโหมดจึงได้จัดทำโครงการชุมชนร่วมใจป้องกันภัยไข้เลือดออกขึ้น เพื่อแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกในเขตพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตะโหมดเพื่อควบคุมและป้องกันไม่ให้มีการแพร่ระบาดของโรค และป้องกันไม่ให้มีผู้เสียชีวิตด้วยโรคไข้เลือดออก อันจะเป็นประโยชน์ในการประหยัดงบประมาณด้านการรักษาผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก ต่อไป
4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด
- บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
- ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
5. กลุ่มเป้าหมาย
6. ระยะเวลาดำเนินงาน
วันเริ่มต้น 01/03/2025
กำหนดเสร็จ 30/09/2025
7. วิธีการดำเนินงาน
- กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
- งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด
หมายเหตุ :
8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง
ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?1ประชาชนมีความรู้ในการป้องกันตนเองจากโรคไข้เลือดออก
2ค่า HI CI ทุกหมู่บ้านน้อยกว่า 10
3อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลงเมื่อเปรียบเทียบกับปี 2567