กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการชุมชนร่วมใจป้องกันภัยไข้เลือดออก
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรม อสม.รพ.สต.บ้านตะโหมด
วันที่อนุมัติ 24 ธันวาคม 2567
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2568
งบประมาณ 30,775.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายสายัณห์ จู่สวัสดิ์
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 95 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

จากสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกซึ่งมีผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกทั้งในระดับประเทศ ระดับภาค และในจังหวัดพัทลุงในอัตราที่สูงกว่าอัตราป่วยที่กำหนด คือ 50 ต่อแสนประชากร โดยในเขตอำเภอตะโหมด มีผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ตั้งแต่ เดือน 1 มกราคม 2567 -13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2567แล้วจำนวน162รายคิดเป็นอัตราป่วยเท่ากับ523.88 ต่อแสนประชากร และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตะโหมดมีผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกจำนวน16รายคิดเป็นอัตราป่วยเท่ากับ456.88 ต่อแสนประชากร จากสถานการณ์ดังกล่าวข้างต้นจะเห็นได้ว่าโรคไข้เลือดออก เป็นปัญหาทางด้านสาธารณสุขที่สำคัญของอำเภอตะโหมดและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตะโหมด ที่จำเป็นต้องแก้ไขปัญหาโดยเร่งด่วน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตะโหมดจึงได้จัดทำโครงการชุมชนร่วมใจป้องกันภัยไข้เลือดออกขึ้น เพื่อแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกในเขตพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตะโหมดเพื่อควบคุมและป้องกันไม่ให้มีการแพร่ระบาดของโรค และป้องกันไม่ให้มีผู้เสียชีวิตด้วยโรคไข้เลือดออก อันจะเป็นประโยชน์ในการประหยัดงบประมาณด้านการรักษาผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก ต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ประชาชนร่วมมือกันป้องกันและควบคุมไข้เลือดออก

ประชาชนมีความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออกเพิ่มขึ้น

0.00
2 เพื่อให้นักเรียน และประชาชนมีความรู้ในการป้องกันและควบคุมไข้เลือดออก

 

0.00
3 เพื่อให้ครัวเรือนมีพฤติกรรมที่ถูกต้องในการป้องกันตนเองจากโรคไข้เลือดออก

ค่า HI CI ทุกหมู่บ้าน น้อยกว่า 10

0.00
4 เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของประชาชนในพื้นที่

อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลงเมื่อเปรียบเทียบกับปี 2567

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณมี.ค. 68เม.ย. 68พ.ค. 68มิ.ย. 68ก.ค. 68ส.ค. 68ก.ย. 68
1 กิจกรรมการควบคุมป้องกันโรค(1 มี.ค. 2568-30 ก.ย. 2568) 15,000.00              
รวม 15,000.00
1 กิจกรรมการควบคุมป้องกันโรค กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 95 15,000.00 0 0.00
1 มี.ค. 68 - 30 ก.ย. 68 กิจกรรมควบคุมโรค 95 15,000.00 -
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 15,775.00 0 0.00
1 มี.ค. 68 - 31 ก.ค. 68 กิจกรรมรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออก เดือนละ 1 ครั้ง 5 หมู่บ้าน จำนวน 95 คน 0 15,775.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1ประชาชนมีความรู้ในการป้องกันตนเองจากโรคไข้เลือดออก 2ค่า HI CI ทุกหมู่บ้านน้อยกว่า 10 3อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลงเมื่อเปรียบเทียบกับปี 2567

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 24 ธ.ค. 2567 00:00 น.