กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบูเก๊ะตา

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการป้องกันตนเองจากความรุนแรงในสังคม

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบูเก๊ะตา

สภาเด็กและเยาวชนเทศบาลตำบลบูเก๊ะตา

1.นางสาวฟิตราห์สตอปา
2. นางสาวนูร์ฟาเดียนาลีกี
3. นางสาวจิณตา อูเซ็ง
4. นายฟัทฮีย์ รอยะ
5. นางสาวโนรมาลามหามุ

ห้องประชุมเทศบาลตำบลบูเก๊ะตา อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

สถานการณ์ในปัจจุบันของประเทศไทยพบว่าความรุนแรงในสังคมไทยเป็นปัญหาสำคัญ ตั้งแต่ในระดับสังคมขนาดเล็กไปจนถึงระดับประเทศ โดยสถานการณ์ความรุนแรงได้แทรกซึมเข้าไป ในทุกส่วนของสังคม ตั้งแต่ครอบครัว โรงเรียน ที่ทำงาน ไปจนถึงชุมชน และ แม้แต่ในระดับประเทศ ซึ่งหากประเทศไทยยังคงต้องเผชิญกับความรุนแรง อย่างต่อเนื่อง ย่อมส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของประชาชนชาวไทย ทั้งที่เป็นเด็กและเยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ และสมาชิกของสังคมทุกคนที่อาจตกเป็นเหยื่อ ของความรุนแรง อันจะส่งผลต่อการพัฒนาสังคมไทย เนื่องจากสมาชิกของสังคม ต้องเผชิญกับการใช้ความรุนแรง อันเป็นปัญหาและอุปสรรคต่อการพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์ ที่เป็นกำลังสำลังสำคัญในการพัฒนาสังคมไทยให้มีความเจริญได้ อย่างแท้จริง
สำหรับพื้นที่ในเขตเทศบาลดำบลบูเก๊ะตายังเป็นพื้นที่ที่ยังไม่มีความรุนแรงเกิดขึ้นเป็นที่ประจักษ์ แต่ทางสภาเด็กและเยาวชนเทศบาลตำบลบูเก๊ะตา เล็งเห็นว่าปัญหาดังกล่าวนั้นควรมีการป้องกันและทำความเข้าใจเกี่ยวกับสถานการณ์ความรุนแรงที่อาจจะเกิดขึ้นได้ในอนาคต จึงได้จัดทำโครงการการป้องกันตนเองจากความรุนแรงในสังคม ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๘๖๘ เพื่อเด็กได้มีการฝึกป้องกันและหลีกเลี่ยงตนเองจากความรุนแรง

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี

1.เพื่อให้เด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมโครงการมีความเข้าใจถึงรูปแบบของความรุนแรงที่อาจเกิดขึ้นในชีวิตประจำวัน ทั้งทางกายภาพ, จิตใจ, และความรนแรงที่อาจพบเจอไมโลกออนไลน์
2.เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้รับรู้วิธีการป้องกันตัวและวิธีการจัดการกับสถานการณ์ความรุนแรงได้อย่างมีประสิทธิภาพและปลอดภัย
3.เพื่อให้เด็กและเยาวชนสร้างความเข้าใจว่าในกรณีที่เกิดความรุนแรง การขอความช่วยเหลือจากหน่วยงานหรือผู้เชี่ยวชาญเป็นสิ่งสำคัญในการรักษาความปลอดภัย

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/02/2025

กำหนดเสร็จ 30/09/2025

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1. กิจกรรมทางวิชาการ อบรมให้ความรู้เรื่อง การให้ข้อมูลเกี่ยวกับรูปแบบของความรุนแรงจัดการบรรยายเกี่ยวกับความรุนแรงในทุกรูปแบบ

ชื่อกิจกรรม
1. กิจกรรมทางวิชาการ อบรมให้ความรู้เรื่อง การให้ข้อมูลเกี่ยวกับรูปแบบของความรุนแรงจัดการบรรยายเกี่ยวกับความรุนแรงในทุกรูปแบบ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.1 ค่าวิทยากร ๑ ท่าน จำนวน 5 ชม.ๆ ละ๖๐๐ บาทเป็นเงิน ๓,๐๐๐ บาท 1.2 ค่าอาหารกลางวันและเครื่องดื่ม ผู้เข้าร่วมอบรม จำนวน ๓5 คน ๆละ 60 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 2,100 บาท 1.3 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ผู้เข้าร่วมอบรม จำนวน ๓5 คน ๆละ ๒ มื้อ ๆละ 25 บาท เป็นเงิน 1,750 บาท 1.4 ค่าป้ายไวนิล จำนวน๑ผืนขนาด1.2x2.4=2.88ตารางเมตรๆ ละ250บาท เป็นเงิน 720 บาท 1.5 ค่าวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการอบรม
- สมุด จำนวน 30 เล่มๆ 20 บาท เป็นเงิน 600 บาท - ปากกา จำนวน 30 ด้ามๆละ 10 บาท เป็นเงิน 300 บาท - ค่าแฟ้มปกอ่อนจำนวน30 ใบๆ ละ12 บาทเป็นเงิน 360 บาท
- ค่ากระดาษร่างแบบ จำนวน 16 แผ่นๆละ 5 บาทเป็นเงิน 80 บาท - ค่าปากกาเคมี จำนวน 12 ด้ามๆละ 20 บาทเป็นเงิน 240 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  • ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้การช่วยเหลือตนเองและผู้อื่นจากความรุนแรงได้ ช่วยเสริมสร้างความปลอดภัยให้กับเยาวชนและประชาชนในชุมชน รวมถึงส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันและลดความรุนแรงในสังคม
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
9150.00

กิจกรรมที่ 2 ๒. กิจกรรม โดยการ ภาคสนาม ฝึกปฏิบัติ

ชื่อกิจกรรม
๒. กิจกรรม โดยการ ภาคสนาม ฝึกปฏิบัติ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

2.1 ค่าวิทยากรสาธิตและฝึกปฏิบัติ จำนวน 2 คน ๆละ 5 ชั่วโมง ๆละ 600 บาท เป็นเงิน 6,000 บาท 2.2 ค่าอาหารกลางวันและเครื่องดื่ม ผู้เข้าร่วมอบรม จำนวน 35 คน ๆละ 60 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 2,100 บาท 2.3 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ผู้เข้าร่วมอบรม จำนวน 35 คน ๆละ 25 บาท จำนวน 2 มื้อเป็นเงิน 1,750 บาท
2.4 ค่าเช่ารถ 1 คัน คันละ 1,000 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
10850.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 20,000.00 บาท

หมายเหตุ :
1. กิจกรรมทางวิชาการ อบรมให้ความรู้เรื่อง การให้ข้อมูลเกี่ยวกับรูปแบบของความรุนแรงจัดการบรรยายเกี่ยวกับความรุนแรงในทุกรูปแบบ
1.1 ค่าวิทยากร ๑ ท่าน จำนวน 5 ชม.ๆ ละ๖๐๐ บาทเป็นเงิน ๓,๐๐๐ บาท
1.2 ค่าอาหารกลางวันและเครื่องดื่ม ผู้เข้าร่วมอบรม จำนวน ๓5 คน ๆละ 60 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 2,100 บาท
1.3 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ผู้เข้าร่วมอบรม จำนวน ๓5 คน ๆละ ๒ มื้อ ๆละ 25 บาท เป็นเงิน 1,750 บาท
1.4 ค่าป้ายไวนิล จำนวน๑ผืนขนาด1.2x2.4=2.88ตารางเมตรๆ ละ250บาท เป็นเงิน 720 บาท
1.5 ค่าวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการอบรม
- สมุด จำนวน 30 เล่มๆ 20 บาท เป็นเงิน 600 บาท
- ปากกา จำนวน 30 ด้ามๆละ 10 บาท เป็นเงิน 300 บาท
- ค่าแฟ้มปกอ่อนจำนวน30 ใบๆ ละ12 บาทเป็นเงิน 360 บาท
- ค่ากระดาษร่างแบบ จำนวน 16 แผ่นๆละ 5 บาทเป็นเงิน 80 บาท
- ค่าปากกาเคมี จำนวน 12 ด้ามๆละ 20 บาทเป็นเงิน 240 บาท
รวมเป็นเงิน9,150 บาท
๒. กิจกรรม โดยการ ภาคสนาม ฝึกปฏิบัติ
2.1 ค่าวิทยากรสาธิตและฝึกปฏิบัติ จำนวน 2 คน ๆละ 5 ชั่วโมง ๆละ 600 บาท เป็นเงิน 6,000 บาท
2.2 ค่าอาหารกลางวันและเครื่องดื่ม ผู้เข้าร่วมอบรม จำนวน 35 คน ๆละ 60 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 2,100 บาท
2.3 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ผู้เข้าร่วมอบรม จำนวน 35 คน ๆละ 25 บาท จำนวน 2 มื้อเป็นเงิน 1,750 บาท
2.4 ค่าเช่ารถ 1 คัน คันละ 1,000 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท
รวมเป็นเงิน10,850 บาท
รวมเป็นเงินทั้งสิ้น20,000บาท(สองหมื่นบาทถ้วน)

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. เด็ก เยาวชนและผู้เข้าร่วมโครงการจะมีความตระหนักรู้เกี่ยวกับรูปแบบของความรุนแรงและวิธีการป้องกันตัวจากเหตุการณ์ที่อาจเกิดขึ้น
2. เด็ก เยาวชนและผู้เข้าร่วมโครงการจะมีทักษะในการป้องกันตัวเองและสามารถรับมือกับสถานการณ์ที่อาจเสี่ยงต่อความรุนแรงได้
3. การลดอัตราการเกิดความรุนแรงในชุมชน ด้วยการสร้างความตระหนักและทักษะในการรับมือกับความรุนแรง จะช่วยลดความรุนแรงและป้องกันเหตุการณ์ที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต


>