กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ช้างให้ตก

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สุขภาพดี ไม่มีโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ปี 2568

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ช้างให้ตก

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง

ร้อยละ 100

0.00
2 ประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มีผลการตรวจระดับน้ำตาลในเลือดระดับน้ำตาลโลหิต เปลี่ยนแปลงอยู่ในเกณฑ์ปกติ

ร้อยละ 40

0.00
3 2. เพื่อจัดตั้งแกนนำสุขภาพ ทำงานเชิงรุกป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในระดับน้ำตาล

ร้อยละ 100

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 60
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น

กำหนดเสร็จ 31/08/2025

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุมแกนนำสุขภาพ จำนวน ๒ ครั้ง ( เม.ย.๘ - ก.ค.๖๘) เพื่อติดตามผลการดำเนินงานเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยง

ชื่อกิจกรรม
ประชุมแกนนำสุขภาพ จำนวน ๒ ครั้ง ( เม.ย.๘ - ก.ค.๖๘) เพื่อติดตามผลการดำเนินงานเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะทำงานเพื่อชี้แจงโครงการ - ค่าเครื่องดื่มและอาหารว่าง จำนวน 2๐ คน x 1 มื้อๆ ละ ๓๐ บาท        เป็นเงิน   600 บาท กิจกรรมที่ 2 อบรมให้ความรู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงและแกนนำสุขภาพ -ค่าอาหารกลางวัน จำนวน  8o x 1 มื้อๆละ 70 บาท          เป็นเงิน    5,600.-บาท -ค่าเครื่องดื่มและอาหารว่าง จำนวน 80 คน x1 มื้อๆละ 70 บาท      เป็นเงิน   5,600.-บาท - ค่าสมนาคุณวิทยากร จำนวน ๖ ชั่วโมง ๆ ละ ๖๐๐ บาท            เป็นเงิน    3,600.-บาท - ค่าจัดซื้อวัสดุสำนักงานในการอบรม                  เป็นเงิน   2,000.-บาท - ค่าถ่ายเอกสารคู่มือ " คู่หูดูแลตัวเอง" จำนวน ๘๐ เล่มๆ ละ ๒๕ บาท  เป็นเงิน   2,000.-บาท - ค่าถ่ายเอกสารแบบทดสอบก่อนและหลังการอบรม จำนวน ๑๖๐ ชุดๆ ละ ๒ บาท เป็นเงิน ๓๒๐.- บาท -ค่าไวนิลโครงการ ขนาด 1.20 x 2.40 เมตร จำนวน 160 ชุดๆ ละ 2 บาท  เป็นเงิน    500.-บาท


กิจกรรมที่๓ ประชุมแกนนำสุขภาพ จำนวน ๒ ครั้ง ( เม.ย.๘ - ก.ค.๖๘) เพื่อติดตามผลการดำเนินงานเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยง ( ติดตามความดันโลหิตและค่าน้ำตาลกลุ่มเสี่ยงทุก ๒ เดือน จำนวน๓ ครั้ง) - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน ๒๐ คน มื้อละ ๓๐ บาท จำนวน ๒ ครั้ง        เป็นเงิน ๑,๒๐๐.-บาท กิจกรรมที่ 4 อบรมให้ความรู้และเปลี่ยนเรียนรู้การดูแลตนเอง     1. ค่าอาหารว่างจำนวน 80คน x 1 มื้อๆ ละ 70  บาท              เป็นเงิน 5,600.-บาท     2.ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่อง จำนวน 80 คน x 2 มื้อๆ ละ 30 บาท          เป็นเงิน 5,600.-บาท
    3. ค่าสมนาคุณวิทยากร    จำนวน 6 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท          เป็นเงิน 3,600.-บาท         รวมทั้งสิ้น  36,220.- บาท (สามหมื่นหกพันสองร้อยยี่สิบบาทถ้วน)

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2568 ถึง 31 กรกฎาคม 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 80 มีความรู้ และตระหนักถึงความสำคัญของการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี และร่วมกันสร้างแรงกระตุ้นใหเมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในชุมชน
    1. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและความดันโลหิตอยู่ใน ระดับปกติและไม่ป่วยโรคเบาหวานโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 80
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
36220.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 36,220.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?


>