กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองทรายขาว

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการป้องกันโรคไข้เลือดออก ประจำปีงบประมาณ 2568

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองทรายขาว

สำนักปลัดเทศบาลตำบลคลองทรายขาวผูู้รับผิดชอบนางสาวกมลชนก แก้วสงคราม

หมู่ที่ 1-8 ตำบลคลองทรายขาว อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด

 

80.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด

การแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากไข้เลือดออกระบาด(ร้อยละ)

80.00 20.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 6,862
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น : 01/03/2025

กำหนดเสร็จ : 30/09/2025

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมเฝ้าระวัง สำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายในครัวเรือน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมเฝ้าระวัง สำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายในครัวเรือน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าทรายเคลียบสารเทมีฟอส 1% ชนิด ซองละ 20 กรัมจำนวน 1,250 ซองจำนวน 2 ถังถังละ 7,000 บาท เป็นเงิน 14,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ประชาชนตำบลคลองทรายขาวได้รับทรายเคลียบเทมีฟอส 1% เพื่อใส่ในน้ำป้องกันการเกิดลูกน้ำยุงลาย

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
14000.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมป้องกันและควบคุมโรค

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมป้องกันและควบคุมโรค
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรม ป้องกันและควบคุมโรค - ก่อนเปิดเทอม พ่นสารเคมีกำจัดยุงลาย ในโรงเรียนจำนวน 4 แห่งศพด.จำนวน 4 แห่งๆละ 2 ครั้ง ห่างกัน 7 วัน เมื่อเกิดโรคไข้เลือดออก พ่นยุงลายเมื่อเกิดการระบาดในวันที่ 0, 3, 7

-ค่าผลิตภัณฑ์ป้องกันและกำจัดยุง (สำหรับผสมน้ำฉีดพ่นยุง ขนาดบรรจุ 1 ลิตร จำนวน 2 ขวดๆละ 2,800 บาท เป็นเงิน 5,600 บาท

-ค่าสเปรย์กำจัดยุง ขนาด 300 มิลลิลิตร จำนวน 24 ขวด ๆ ละ 80 บาท เป็นเงิน 1,920บาท

-ค่าโลชั่นทากันยุง แบบซอง 8 กรัม ซองๆละ 10 บาท จำนวน 100ซอง เป็นเงิน1,000 บาท

-ค่าน้ำมันเบนซินจำนวน10 ลิตร ๆ ละ 40บาทจำนวนเงิน400บาท

-ค่าหน้ากากอนามัย N95 จำนวน 1 กล่องจำนวน 20 ชิ้น เป็นเงิน 1,000 บาท

-ค่าชุด 3M(ชุดหมีสำหรับพ่นสารเคมี) จำนวน 1 ชุด ๆละ 700 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.สามารถกำจัดลูกน้ำยุงลายได้โดยลดการกำเนิดของยุ่งลายในพื้นที่
2.ประชาชนห่างจากโรคไข้เลือดออก

3.มีการระบาดหน่อยลง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
10620.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 24,620.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ในเขตพื้นที่หมู่ที่ 1 - 8 มีการเฝ้าระวังและควบคุมแหล่งเพราะพันธุ์ยุงลายให้ลดลงอย่างต่อเนื่อง และค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายไม่เกิน 10
2.ประชาชนได้รับความรู้จากการให้สุขศึกษา/ประชาสัมพันธ์ เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกและสามารถป้องกันตนเองจากโรคไข้เลือดออกได้อย่างถูกต้อง
3.เมื่อมีการเกิดโรคไข้เลือดออก สามารถควบคุมโรคไข้เลือดออกได้
4.อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของประชาชนในพื้นที่ลดลง


>