กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกะลุวอเหนือ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลกะลุวอเหนือ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกะลุวอเหนือ

สำนักเลขานุการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลกะลุวอเหนือ

เทศบาลตำบลกะลุวอเหนือ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลกะลุวอเหนือ เป็นกองทุนที่จัดตั้งขึ้นเพื่อให้เกิดการพัฒนาสุขภาพของคนในชุมชน โดยการบริหารจัดการอย่างมีส่วนร่วมของชุมชน การดำเนินงานของกองทุนฯ สามารถขับเคลื่อนไปข้างหน้าได้นั้น ส่วนหนึ่งที่สำคัญคือการมีคณะกรรมการบริหารจัดการกองทุนเป็นกำลังในการนำพากองทุนไปสู่การบริหารจัดการที่ดี ส่งผลให้เกิดระบบงานที่มีประสิทธิภาพ
เพื่อให้การดำเนินงานกองทุนฯ เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลกะลุวอเหนือ จึงจัดโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลกะลุวอเหนือ ขึ้น เพื่อพัฒนาระบบงานกองทุน สร้างขวัญและกำลังใจแก่คณะกรรมการคณะอนุกรรมการ ตลอดจนคณะทำงานกองทุนฯและการประชาสัมพันธ์สื่อสารการดำเนินงานแก่ชุมชน/ชมรม/องค์กรต่าง ๆ

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. มีการสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการ หรือสถานบริการ หรือหน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่ โดยเน้นเรื่องการสร้างสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การฟื้นฟูสมรรถภาพ และการรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก ที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิต เพื่อให้กลุ่มเด็กเล็กและก่อนวัยเรียน กลุ่มวัยเรียนและเยาวชน กลุ่มวัยทำงาน กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มหญิงตั้งครรภ์ กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ กลุ่มประชาชนที่มีความเสี่ยง ที่อยู่ในพื้นที่สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพมากขึ้น

มีการใช้จ่ายงบประมาณตามแผนการเงินที่วางไว้ ร้อยละ 70

0.00
2 2. มีการควบคุมและกำกับดูแลการรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีเงินหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติที่กำหนด

มีเอกสารเกี่ยวกับการเงินที่สามารถตรอบสอบได้และเป็นไปตามหลักเกณฑ์ประกาศฯ ร้อยละ 100

0.00
3 หน่วยงาน หรือกลุ่มหรือองค์กรผู้ที่ได้รับอนุมัติงบประมาณ ได้รับการกำกับดูแลให้เป็นไปตามแผนงาน โครงการที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ และตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพกำหนด

โครงการที่ได้รับอนุมัติงบประมาณ สามารถดำเนินงานได้ตามแผนงานมากกว่า ร้อยละ 70

0.00
4 คณะกรรมการกองทุน คณะอนุกรรมการ และคณะทำงาน ได้รับการพัฒนาศักยภาพเรื่องการพิจารณาโครงการหรือกิจกรรมให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน

มีการประชุมของคณะกรรมการกองทุน/คณะอนุกรรมการฯ อย่างน้อยไตรมาสละ 1 ครั้ง หรือตามความจำเป็นเหมาะสมเป็นไปตามประกาศฯ และคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ และคณะทำงาน ได้รับการพัฒนาศักยภาพการดำเนินงานให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์กองทุนฯ ปีละ 1 ครั้ง

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 30

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2024

กำหนดเสร็จ 30/09/2025

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ

ชื่อกิจกรรม
ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

(1) ค่าจัดประชุมกรรมการ/อนุกรรมการ 102,800 บาท

  • ค่าตอบแทนการประชุมกรรมการ 21 คน x 400 บาท x 5 ครั้ง = 42,000 บาท
  • ค่าตอบแทนการประชุมสำหรับเจ้าหน้าที่ดำเนินงานกองทุนฯ จำนวน
    6 คน x 400 บาท x 5 ครั้ง =12,000 บาท
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 30 คน x 35 บาท x 5 ครั้ง = 5,250 บาท

  • ค่าตอบแทนการประชุมอนุกรรมการ 20 คน x 300 บาท x 5 ครั้ง = 30,000 บาท

  • ค่าตอบแทนการประชุมสำหรับเจ้าหน้าที่ดำเนินงานกองทุนฯ จำนวน
    6 คน x 300 บาท x 5 ครั้ง =9,000 บาท
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 26 คน x 35 บาท x 5 ครั้ง = 4,550 บาท

(2) ค่าวัสดุสำนักงาน 25,825.45 บาท - แฟ้มเสนอ 2 แฟ้ม เป็นเงิน 400 บาท - ป้ายอะคลิลิกตั้งโต๊ะ 20 อัน เป็นเงิน 1,200 บาท -ปากกา (โหล)จำนวน 1 โหล เป็นเงิน 150.00บาท -กระดาษ A4 (ลัง) 12 ลัง เป็นเงิน 10,200.00บาท -แฟ้มปกอ่อนขนาดF4 ( 20 แฟ้ม)เป็นเงิน 1,680.00บาท -แฟ้มปกแข็งขนาดF5 ( 6 แฟ้ม)เป็นเงิน 540.00บาท -ดัชนีกั้นแฟ้ม (แพค) เป็นเงิน700.00บาท -ค่าวัสดุสำนักงาน อื่นๆ ที่จำเป็น เป็นเงิน16,000.00บาท


(3) ค่าอบรมพัฒนาศักยภาพการบริหารและพัฒนากองทุนฯเป็นเงิน 58,450.00บาท ค่าเบี้ยเลี้ยงค่าเดินทาง ในการเดินทานไปราชการ2,800 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. สนับสนุนค่าใช้จ่ายในการบริหารพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพให้มีประสิทธิภาพ
  2. การปฏิบัติงานของกองทุนเป็นไปด้วยความคล่องตัว
  3. มีวัสดุอุปกรณ์และครุภัณฑ์สำนักงานเพื่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงาน
  4. กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลกะลุวอเหนือและคณะกรรมการกองทุนมีการพัฒนาและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
187950.45

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 187,950.45 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. มีการสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการ หรือสถานบริการ หรือหน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่ โดยเน้นเรื่องการสร้างสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การฟื้นฟูสมรรถภาพ และการรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก ที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิต เพื่อให้กลุ่มเด็กเล็กและก่อนวัยเรียน กลุ่มวัยเรียนและเยาวชน กลุ่มวัยทำงาน กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มหญิงตั้งครรภ์ กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ กลุ่มประชาชนที่มีความเสี่ยง ที่อยู่ในพื้นที่สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพมากขึ้น
2.มีการควบคุมและกำกับดูแลการรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีเงินหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติที่กำหนด
3.หน่วยงาน หรือกลุ่มหรือองค์กรผู้ที่ได้รับอนุมัติงบประมาณ ได้รับการกำกับดูแลให้เป็นไปตามแผนงาน โครงการที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ และตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพกำหน
4.คณะกรรมการกองทุน คณะอนุกรรมการ และคณะทำงาน ได้รับการพัฒนาศักยภาพเรื่องการพิจารณาโครงการหรือกิจกรรมหรือการดำเนินงานให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน


>