โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลกะลุวอเหนือ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568
ชื่อโครงการ | โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลกะลุวอเหนือ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568 |
รหัสโครงการ | 68-L2491-4-01 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 4 สนับสนุนการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | สำนักงานเลขาฯกองทุน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | สำนักเลขานุการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลกะลุวอเหนือ |
วันที่อนุมัติ | 28 มกราคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 พฤศจิกายน 2568 |
งบประมาณ | 187,950.45 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายกฤษฎา เพ็ชรพันธ์ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลกะลุวอเหนือ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | 30 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลกะลุวอเหนือ เป็นกองทุนที่จัดตั้งขึ้นเพื่อให้เกิดการพัฒนาสุขภาพของคนในชุมชน โดยการบริหารจัดการอย่างมีส่วนร่วมของชุมชน การดำเนินงานของกองทุนฯ สามารถขับเคลื่อนไปข้างหน้าได้นั้น ส่วนหนึ่งที่สำคัญคือการมีคณะกรรมการบริหารจัดการกองทุนเป็นกำลังในการนำพากองทุนไปสู่การบริหารจัดการที่ดี ส่งผลให้เกิดระบบงานที่มีประสิทธิภาพ เพื่อให้การดำเนินงานกองทุนฯ เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลกะลุวอเหนือ จึงจัดโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลกะลุวอเหนือ ขึ้น เพื่อพัฒนาระบบงานกองทุน สร้างขวัญและกำลังใจแก่คณะกรรมการคณะอนุกรรมการ ตลอดจนคณะทำงานกองทุนฯและการประชาสัมพันธ์สื่อสารการดำเนินงานแก่ชุมชน/ชมรม/องค์กรต่าง ๆ
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1. มีการสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการ หรือสถานบริการ หรือหน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่ โดยเน้นเรื่องการสร้างสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การฟื้นฟูสมรรถภาพ และการรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก ที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิต เพื่อให้กลุ่มเด็กเล็กและก่อนวัยเรียน กลุ่มวัยเรียนและเยาวชน กลุ่มวัยทำงาน กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มหญิงตั้งครรภ์ กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ กลุ่มประชาชนที่มีความเสี่ยง ที่อยู่ในพื้นที่สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพมากขึ้น มีการใช้จ่ายงบประมาณตามแผนการเงินที่วางไว้ ร้อยละ 70 |
0.00 | |
2 | 2. มีการควบคุมและกำกับดูแลการรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีเงินหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติที่กำหนด มีเอกสารเกี่ยวกับการเงินที่สามารถตรอบสอบได้และเป็นไปตามหลักเกณฑ์ประกาศฯ ร้อยละ 100 |
0.00 | |
3 | หน่วยงาน หรือกลุ่มหรือองค์กรผู้ที่ได้รับอนุมัติงบประมาณ ได้รับการกำกับดูแลให้เป็นไปตามแผนงาน โครงการที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ และตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพกำหนด โครงการที่ได้รับอนุมัติงบประมาณ สามารถดำเนินงานได้ตามแผนงานมากกว่า ร้อยละ 70 |
0.00 | |
4 | คณะกรรมการกองทุน คณะอนุกรรมการ และคณะทำงาน ได้รับการพัฒนาศักยภาพเรื่องการพิจารณาโครงการหรือกิจกรรมให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน มีการประชุมของคณะกรรมการกองทุน/คณะอนุกรรมการฯ อย่างน้อยไตรมาสละ 1 ครั้ง หรือตามความจำเป็นเหมาะสมเป็นไปตามประกาศฯ และคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ และคณะทำงาน ได้รับการพัฒนาศักยภาพการดำเนินงานให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์กองทุนฯ ปีละ 1 ครั้ง |
0.00 |
วันที่ | ชื่อกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) | งบกิจกรรม (บาท) | ทำแล้ว | ใช้จ่ายแล้ว (บาท) | |
---|---|---|---|---|---|---|
1 ม.ค. 68 - 30 ก.ย. 68 | ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ | 0 | 187,950.45 | - | ||
รวม | 0 | 187,950.45 | 0 | 0.00 |
- มีการสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการ หรือสถานบริการ หรือหน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่ โดยเน้นเรื่องการสร้างสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การฟื้นฟูสมรรถภาพ และการรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก ที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิต เพื่อให้กลุ่มเด็กเล็กและก่อนวัยเรียน กลุ่มวัยเรียนและเยาวชน กลุ่มวัยทำงาน กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มหญิงตั้งครรภ์ กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ กลุ่มประชาชนที่มีความเสี่ยง ที่อยู่ในพื้นที่สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพมากขึ้น 2.มีการควบคุมและกำกับดูแลการรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีเงินหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติที่กำหนด 3.หน่วยงาน หรือกลุ่มหรือองค์กรผู้ที่ได้รับอนุมัติงบประมาณ ได้รับการกำกับดูแลให้เป็นไปตามแผนงาน โครงการที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ และตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพกำหน 4.คณะกรรมการกองทุน คณะอนุกรรมการ และคณะทำงาน ได้รับการพัฒนาศักยภาพเรื่องการพิจารณาโครงการหรือกิจกรรมหรือการดำเนินงานให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 3 ก.พ. 2568 00:00 น.