กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งหว้า รหัส กปท. L8009

อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2568 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการอบรมให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมสุขภาพกายและใจเด็กนักเรียนในโรงเรียนอนุบาลทุ่งหว้า ห่างไกลโรคภาวะซึมเศร้า ประจำปีงบประมาณ 2568
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
โรงเรียนอนุบาลทุ่งหว้า
กลุ่มคน
โรงเรียนอนุบาลทุ่งหว้า
3.
หลักการและเหตุผล

โรคซึมเศร้ามีสาเหตุหลักจากความผิดปกติของสารเคมีในสมอง และสาเหตุอื่นๆ ได้แก่ ภาวะเศรษฐกิจความผิดหวัง ความสัมพันธ์ ความรัก ความสูญเสีย เป็นต้น หากไม่สามารถจัดการกับปัญหาได้ ทำให้ทุกปัญหากลายเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดความเครียด วิตกกังวล จนพัฒนาไปสู่ภาวะซึมเศร้าได้ อาการโรคซึมเศร้า ได้แก่ เศร้า หดหู่ เบื่อหน่าย มีอารมณ์ฉุนเฉียว ไม่มีสมาธิ นอนไม่หลับ รายงานสถานการณ์การฆ่าตัวตายในประเทศไทย ปีงบประมาณ 2567 ศูนย์เฝ้าระวังป้องกันการฆ่าตัวตาย ปีงบประมาณ 2566 (ตุลาคม 2565 - กันยายน 2566) พบว่า คนไทยเสียชีวิตจากการฆ่าตัวตาย 5,172 คน หรือเท่ากับ 7.94 ต่อแสนประชากร เฉลี่ยวันละ 14 คนหรือเสียชีวิต 1 คน ในทุก 2 ชั่วโมง และคนไทยพยายามฆ่าตัวตาย 31,110 คน หรือเท่ากับ 47.74 ต่อแสนประชากร เฉลี่ยวันละ 85 คน หรือมีผู้พยายามฆ่าตัวตาย 7 คน ในทุก 2 ชั่วโมง (HDC, 2566) จากการทบทวนข้อมูลสอบสวนโรคและผลศึกษาวิจัยเรื่องการฆ่าตัวตาย จะพบว่า ผู้ที่ฆ่าตัวตายมักจะมีความเปราะบางมีความอ่อนแอ หรือมีปัจจัยเสี่ยงเสี่ยงอยู่ก่อน เช่น ป่วยโรคจิตเวชที่รุนแรง หนึ่งในนั้นคือ โรคซึมเศร้า ขณะที่สาเหตุส่วนใหญ่จากปัญหาอื่นๆ เช่น ผู้ที่ฆ่าตัวตายมักจะอยู่ในสภาพแวดล้อม (สังคม หรือครอบครัว) ที่มีความคาดหวังสูง และผู้ที่มีความเปราะบางหรือมีความเสี่ยงเหล่านี้เผชิญกับ วิกฤติชีวิตที่ทำให้อับอาย หรือพ่ายแพ้ ร่วมกับรู้สึกอับจนหนทางหรือตกอยู่ในสถานการณ์ ไม่มีทางออก แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาภาวะซึมเศร้าและการฆ่าตัวตาย สามารถป้องกันได้โดยใช้หัก 3 ส. คือ สอดส่องมองหา ใส่ใจรับฟัง และส่งต่อ เชื่อมโยงผู้ที่มีความเครียด วิตกกังวลกับปัญหาที่เผชิญอยู่ ซึ่งมีผลต่อสมาธิและความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวัน คนรอบข้างสามารถสังเกตอาการและพฤติกรรมที่ผิดปกตินี้และต้องรีบเข้าไปพูดคุยร่วมกันหาสาเหตุ รับฟังปัญหาอย่างเข้าใจและใส่ใจ ให้คำปรึกษา หรือส่งต่อแพทย์ได้อย่างทันท่วงที จะทำให้อาการดีขึ้นและหายขาดได้ดังนั้น เพื่อเป็นการป้องกันและคัดกรองเบื้องต้นแก่ประชาชนตำบลทุ่งหว้า จึงได้จัดทำโครงการดังกล่าว

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. 1. เพื่อให้นักเรียนโรงเรียนอนุบาลทุ่งหว้า มีความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับภาวะซึมเศร้า
    ตัวชี้วัด : เพื่อให้นักเรียนโรงเรียนอนุบาลทุ่งหว้า มีความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับภาวะซึมเศร้า
    ขนาดปัญหา 100.00 เป้าหมาย 100.00
  • 2. 2.เพื่อให้นักเรียนโรงเรียนอนุบาลทุ่งหว้า ได้รับการตรวจคัดกรองภาวะซึมเศร้า
    ตัวชี้วัด : 2.เพื่อให้นักเรียนโรงเรียนอนุบาลทุ่งหว้า ได้รับการตรวจคัดกรองภาวะซึมเศร้า
    ขนาดปัญหา 100.00 เป้าหมาย 100.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. กิจกรรมหลัก อบรมให้ความรู้ เรื่องส่งเสริมสุขภาพกายและใจห่างไกลโรคภาวะซึมเศร้า
    รายละเอียด

    วิธีดำเนินการ
    1. เขียนโครงการเพื่อเสนอขออนุมัติ 2. ติดต่อประสานงานวิทยากรและผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อเตรียมความพร้อมในการดำเนินการอบรมและกิจกรรมตามโครงการ 3. จัดอบรมให้ความรู้เรื่องการและตรวจคัดกรองภาวะซึมเศร้า 4. จัดทำรายงานสรุปผลการดำเนินงานและประเมินผลการดำเนินงานตามวัตถุประสงค์และรวบรวมหลักฐานการใช้จ่ายงบประมาณ 5. เสนอรายงานผลการดำเนินงานตามกิจกรรมของโครงการให้คณะกรรมการบริหารงานกองทุนฯ 2.ขั้นตอนการดำเนินงาน
      ดำเนินตามขั้นตอนจัดอบรม ใหกับนักเรียนในเรื่องโรคภาวะซึมเศร้า จำนวน 70 คน  จัดอบรมให้ความรู้โดยวิทยากรจากโรงพยาบาลทุ่งหว้า ให้ความรู้แก่นักเรียน

    1 ค่าสมนาคุณวิทยากร จำนวน 6 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท 2 ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 70 คน จำนวน 1 มื้อๆละ  70 บาท เป็นเงิน 4,900 บาท  3. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม  จำนวน 70 คน  จำนวน 2 มื้อๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 4,900 บาท 4. ค่าผ้าขาวม้า ไว้สำหรับออกกำลังกายฯ  จำนวน 70 ผืน ๆละ 110 บาท เป็นเงิน 7,700 บาท  5. ค่าแฟ้มใส่เอกสาร จำนวน 70 แฟ้ม ๆละ 20 บาท เป็นเงิน 1,400 บาท  6 ค่าปากกา จำนวน 70 ด้าม ๆละ 10 บาท เป็นเงิน 700 บาท  7 ค่าสมุด จำนวน 70 เล่ม ๆละ 10 บาท เป็นเงิน 700 บาท  8 ค่าปากกาเคมี จำนวน 5 ด้าม ๆละ 15 บาท  เป็นเงิน 75 บาท 9. ค่ากระดาษบรู๊ฟ จำนวน 7 แผ่น ๆละ 5 บาท  เป็นเงิน  35 บาท  10 ค่ากระดาษถ่ายเอกสารประเมินคัดกรองโรคซึมเศร้า จำนวน 70 ใบๆละ 2 บาท เป็นเงิน 140 บาท 11. ค่าเกียรติบัตรการเข้าอบรมโครงการให้กับผู้เข้าอบรม  จำนวน 70 ใบๆ ละ 20 บาท เป็นเงิน 1,400 บาท 12. ค่าป้ายไวนิลโครงการ จำนวน 1 ป้าย ขนาด 1.2*2.5 ม. เป็นเงิน 450 บาท  รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 26,000 บาท หมายเหตุ
    ทุกรายการสามารถถั่วเฉลี่ยได้

    งบประมาณ 26,000.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

8.
สถานที่ดำเนินการ

ณ โรงเรียนอนุบาลทุ่งหว้า

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 26,000.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

1.เพื่อให้นักเรียนโรงเรียนอนุบาลทุ่งหว้ารู้จักเท่าทันโรคภาวะซึมเศร้า 2.เพื่อให้นักเรียนโรงเรียนอนุบาลทุ่งหว้า ได้รับการตรวจคัดกรองภาวะซึมเศร้า 3.เพื่อให้นักเรียนโรงเรียนอนุบาลทุ่งหว้า มีความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับภาวะซึมเศร้า

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งหว้า รหัส กปท. L8009

อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2568
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งหว้า
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งหว้า รหัส กปท. L8009

อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 26,000.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................