กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะหา รหัส กปท. L4150

อำเภอยะหา จังหวัดยะลา

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2568 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการพัฒนาการจัดการสุขภาพของประชาชนตำบลยะหาเพื่อห่างไกล NCDs ปี2568
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลากอ
3.
หลักการและเหตุผล

โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ส่วนใหญ่ไม่ทำให้สูญเสียชีวิตทันที แต่ทำให้คุณภาพชีวิตลดลง เกิด ความสูญเสียทั้งทางด้านสังคม และเศรษฐกิจ โดยเฉพาะเมื่อผู้ป่วยมี ภาวะแทรกซ้อน ทำ ให้เกิดข้อจำกัดด้าน ความสามารถหรือมีความพิการหรือเสียชีวิตก่อนเวลาอันควร สิ่งเหล่านี้เกิดจากพฤติกรรมทั้งสิ้น คลินิก NCDของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตา บลบ้านลากอมีผู้ป่ วยความดันโลหิตสูง 405 ราย สามารถ ควบคุมความดันโลหิตได้ดี ร้อยละ 48.38 ไม่สามารถควบคุมความดันโลหิต ร้อยละ 51.62 เกิด ภาวะแทรกซ้อนทางไต ร้อยละ 10.60 ภาวะแทรกซ้อนทางหลอดเลือดสมองจา นวน 8 ราย คิดเป็นร้อยละ 1.97 โรคหลอดเลือดหัวใจ 2 รายคิดเป็นร้อยละ 0.48 และมีผู้ป่ วยเบาหวาน จา นวน 147 ราย สามารถควบคุมระดับ น้า ตาลในเลือดร้อยละ 35.42 ไม่สามารถคุมระดับน้า ตาลในเลือดได้ ร้อยละ 64.58 ผู้ป่ วยเบาหวานรายใหม่ 12 ราย ผู้ป่ วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ 33 ราย จากข้อมูลจานวนรายใหม่ของความดันโลหิตสูงและเบาหวานมี เพิ่มขึ้นทุกๆปี ดังนั้นเพื่อให้มีการดูแลสุขภาพที่ดีแบบยึดหลักผู้ป่ วยเป็ นศูนย์กลางพร้อมส่งเสริมให้เกิดการดูแลสุขภาพ ตนเองที่เหมาะสมและมีคุณภาพสร้างความรอบรู้ในการดูแลสุขภาพตนเอง(Health Literacy Program) ปฏิบัติตัวอย่างเหมาะสมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อที่สาคัญต่อไป

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำจิตอาสาเพื่อสร้างความรอบรู้ในการ จัดการสุขภาพ
    ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ100ของแกนนำจิตอาสาเข้ารับการพัฒนาศักยภาพในการ จัดการสุขภาพ
    ขนาดปัญหา 67.00 เป้าหมาย 1.00
  • 2. เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนรายใหม่ในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและเบาหวาน
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 40ของผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี ร้อยละ 60ของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตได้ดี
    ขนาดปัญหา 146.00 เป้าหมาย 1.00
  • 3. เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม และลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรครายใหม่
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 การตรวจติดตามกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ร้อยละ 80 ของกลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3ส 3อ.1น
    ขนาดปัญหา 335.00 เป้าหมาย 1.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. จัดบริการคลินิกเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงวิถีใหม่ เพื่อตอบสนองต่อการจัดการสุขภาพ
    รายละเอียด

    1.นำข้อมูลผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงจากการคัดกรองภาวะสุขภาพมาประมวลเพื่อจัดระดับความเสี่ยงทางคลินิกแยกเป็นกลุ่มผู้ป่วยตามความรุนแรงเป็น 3 กลุ่ม
    ผู้ป่วยคุมโรคได้ดี (สีเขียว) ผู้ป่วยคุมโรคได้ปานกลาง (สีเหลือง)ผู้ป่วยคุมโรคไม่ได้(สีแดง) 2.กำหนดวิธีการให้บริการที่แตกต่างในแต่ละกลุ่ม •ผู้ป่วยคุมโรคได้ดี (สีเขียว) พบแพทย์ทุก3เดือน ผู้ป่วยส่งผล Self+monitoring ทุกครั้งที่นัด การเติมยา refilled/remed •ผู้ป่วยคุมโรคได้ปานกลาง (สีเหลือง)ให้บริการเหมือนกลุ่มแรกเพิ่มเรื่องการจัดโปรแกรมวางแผนการดูแลสุขภาพและทบทวนแผนการดูแลตนเองใช้หลักการเวชศาสตร์
    ครอบครัวและเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย
    •ผู้ป่วยคุมโรคไม่ได้(สีแดง)พบแพทย์ทุกครั้งความถี่การนัดตามดุลพินิจของแพทย์ใช้หลักการดูแลเหมือนกลุ่มปานกลาง เพิ่มวิเคราะห์ปัญหาเชิงลึก

    งบประมาณ 0.00 บาท
  • 2. พัฒนาศักยภาพแกนนำจิตอาสาประจำหมู่บ้านในการจัดการสุขภาพเพื่อเป็นพี่เลี้ยง ผู้ดูแลที่คอยช่วยดูแล ให้คำปรึกษาด้านสุขภาพ และส่งเสริมให้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้อง
    รายละเอียด

    จัดกิจกรรมพัฒนาศักยภาพแกนนำจิตอาสา โดยการอบรมเชิงปฏิบัติการประจำหมู่บ้าน - ค่าอาหารกลางวัน 67 คน x 50 บาท x 1 มื้อ เป็นเงิน 3,350บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 67 คน x 25 บาท x 2 มื้อเป็นเงิน 3,350บาท - ค่าสมนาคุณวิทยากร 2 คน x 300 บาท x 3 ชั่วโมงเป็นเงิน1,800 บาท รวมเงิน 8,500บาท

    งบประมาณ 8,500.00 บาท
  • 3. จัดกิจกรรมให้ความรู้แก่ผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมไม่ดีผ่านโปรแกรม Healthy DM
    รายละเอียด

    จัดกิจกรรมให้ความรู้แก่ผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมไม่ดีผ่านโปรแกรม Healthy DM - ค่าอาหารกลางวัน 50 คน x 50 บาท x 1 มื้อ เป็นเงิน 2,500บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 50 คน x 25 บาท x 2 มื้อเป็นเงิน 2,500บาท - ค่าสมนาคุณวิทยากร 1 คน x 300 บาท x 6 ชั่วโมงเป็นเงิน1,800 บาท - ค่า Healthy DM Box set จำนวน1 ชุด เป็นเงิน2,790บาท

    งบประมาณ 9,590.00 บาท
  • 4. จัดกิจกรรมสร้างความรอบรู้สุขภาพแก่กลุ่มเสี่ยงผ่านโปรแกรม Pre DM Remission
    รายละเอียด

    จัดกิจกรรมให้ความรู้เพื่อสร้างความรอบรู้สุขภาพแก่กลุ่มเสี่ยงผ่านโปรแกรม Pre DM Remission - ค่าอาหารกลางวัน 50 คน x 50 บาท x 1 มื้อ เป็นเงิน 2,500บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 50 คน x 25 บาท x 2 มื้อเป็นเงิน 2,500บาท - ค่าสมนาคุณวิทยากร 1 คน x 300 บาท x 6 ชั่วโมงเป็นเงิน1,800 บาท - ค่า Pre DM Remission Box set จำนวน1 ชุดเป็นเงิน 2,350บาท

    งบประมาณ 9,150.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

8.
สถานที่ดำเนินการ

หมู่ที่ 4,5,7,8

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 27,240.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

1.กลุ่มเป้าหมายสามารถนำความรู้และนำไปปฏิบัติ ปรับใช้ในชีวิตประจำวัน
2 .กลุ่มเป้าหมายมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังสุขภาพ และจัดการสุขภาพของตนเอง 3. กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงเป็นผู้ป่วยรายใหม่ลดลดลงจากปีก่อน 4. กลุ่มป่วยมีการควบคุมระดับความดันและน้ำตาลดีขึ้นจากปีก่อนและลดการเกิดภาวะแทรกซ้อน

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะหา รหัส กปท. L4150

อำเภอยะหา จังหวัดยะลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2568
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะหา
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะหา รหัส กปท. L4150

อำเภอยะหา จังหวัดยะลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 27,240.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................