แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จวบ รหัส กปท. L8422
อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"
อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2568 โดยมีรายละเอียด ดังนี้
สถานการณ์โรคไม่ติดต่อเรื้อรังเป็นปัญหาสุขภาพอันดับหนึ่งของโลกและของประเทศไทย ทั้งในมิติของจำนวน การเสียชีวิตและภาระโรคโดยรวม สถานการณ์โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง สาเหตุส่วนใหญ่ของโรคไม่ติดต่อเรื้อรังมาจากพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทาง สรีรวิทยา เช่น ภาวะอ้วน ระดับน้ำตาลในเลือดสูง ระดับไขมันในเลือดสูง และระดับความดันโลหิตสูง นำไปสู่การเกิดโรค ถ้าหากไม่ให้ความสำคัญกับการจัดการปัจจัยเสี่ยงและควบคุมสภาวะโรคอาจก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงได้ ส่วนสำคัญในการจัดการปัญหาสุขภาพดังกล่าว คือ การพัฒนาคุณภาพบริการของสถานบริการสาธารณสุขเพื่อจัดการ ปัญหาจากโรคไม่ติดต่อ และสนับสนุนให้เครือข่ายสุขภาพและชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพทั้งกลุ่มเสี่ยง และกลุ่ม ป่วยโรคไม่ติดต่ออำเภอเจาะไอร้องสถานการณ์โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง พบแนวโน้มสูงขึ้นเช่นเดียวกัน จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูง ตั้งแต่ ปี 2563-2567พบ 310, 362, 279, 323 ราย และ 291 ราย ตามลำดับ และ จำนวนผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ตั้งแต่ ปี 2563-2567 พบ 121 ราย ,161 ราย ,144 ราย , 152 และ155 ราย ตามลำดับ (ข้อมูล HDC จังหวัดนราธิวาส) โรงพยาบาลเจาะไอร้อง มีการดำเนินงานควบคุมและป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรังมาต่อเนื่องทุกปี ตั้งแต่การคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ซึ่งเดิมเริ่มคัดกรองในกลุ่มประชาชน 35 ปีขึ้นไป แต่ด้วยสถานการณ์แนวโน้มปัจจุบันโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเริ่มมีในกลุ่มอายุที่น้อยลง จึงเริ่มดำเนินการคัดกรองในกลุ่มประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป มีการคืนข้อมูลการคัดกรอง และติดตามการปรับพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย แต่ผลการดำเนินงาน ประชากรกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยยังไม่ลดลง แนวโน้มสูงขึ้นด้วย เมื่อมีการมีการวิเคราะห์ข้อมูลร่วมกันระหว่างเครือข่ายบริการสุขภาพและชุมชน พบว่าจากการสนับสนุนเครือข่ายในชุมชน พบผู้นำชุมชนหรือแกนนำชุมชน ยังขาดความรู้ความเข้าใจในการสื่อสารบอกต่อ และไม่สามารถเป็นแกนนำด้านการปรับพฤติกรรมสุขภาพได้ ส่งผลการร่วมสร้างนโยบายสาธารณะที่เอื้อประโยชน์ต่อสุขภาพของคนในชุมชนยังไม่ชัดเจน สิ่งแวดล้อมในชุมชนยังเอื้อต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ดังนั้น กลุ่มงานบริการด้นปฐมภูมิและองค์รวมโรงพยาบาลเจาะไอร้อง จึงสนใจจัดทำโครงการแกนนำตำบลจวบสุขภาพดี ร่วมสร้างวิถีชุมชนลดโรคNCDs เพื่อส่งเสริมการรับรู้สุขภาพตนเอง การปรับพฤติกรรมสุขภาพเพื่อลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง และสามารถเป็นแกนนำด้านสุขภาพในชุมชน ส่งผลสามารถบอกต่อ สนับสนุนติดตาม รวมถึงการร่วมสร้างสิ่งแวดล้อมยังเอื้อต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จนเกิดนโยบายสาธารณะที่เอื้อประโยชน์ต่อสุขภาพของคนในชุมชนอย่างยั่งยืน
-
1. ครูอนามัยโรงเรียน อสม.และผู้นำชุมชน เขตตำบลจวบ ได้รับการคัดกรองโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง รับทราบผลการคัดกรองสุขภาพ และสามารถปรับพฤติกรรมสุขภาพได้เหมาะสมตัวชี้วัด : ครูอนามัยโรงเรียน อสม.และผู้นำชุมชน เขตตำบลจวบ เข้าร่วมโครงการมากกว่าร้อยละ 90ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
-
2. ครูอนามัยโรงเรียน อสม.และผู้นำชุมชน เขตตำบลจวบ มีความรู้ในการดูแลตนเอง เพื่อป้องกันการเกิดโรคNCDs หรือภาวะแทรกซ้อนจากโรค NCDs และสามารถสื่อสารบอกต่อคนอื่นได้ตัวชี้วัด : อัตรากลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย และการเกิดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มป่วย ของผู้เข้าร่วมโครงการลดลงหลังจากเข้าร่วมโครงการ อย่างน้อย ร้อยละ 5ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
-
3. 3.อสม.เขตตำบลจวบ มีความรู้และทักษะการคัดกรองโรคNCDs เบื้องต้นตัวชี้วัด : อสม.เขตตำบลจวบ ผ่านการสอบทักษะการคัดกรองโรคNCDs เบื้องต้น ร้อยละ 100ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
- 1. Work Shop การแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) แบ่งเป็น 3 กลุ่มรายละเอียด
- ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 1 มื้อๆละ 60 บาท x 63 คน = 3,780บ.
- ค่าอาหารว่าง จำนวน 2 มื้อๆละ25บาท x 1 วัน x 63 คน = 3,150บ.
- ค่าป้ายไวนิลโครงการแกนนำตำบลจวบสุขภาพดี ขนาด 1.2 เมตร x 2.4 เมตร จำนวน 1ป้าย = 720 บาท
- เครื่องตรวจความเค็ม จำนวน 2 เครื่อง เครื่องละ 2,000 บาท = 4,000 บาท
- รวมงบประมาณ กิจกรรมที่ 1 ทั้งสิ้น 11,650 บาท
งบประมาณ 11,650.00 บาท - 2. พัฒนาทักษะอสม. ต.จวบ จำนวน 115 คนรายละเอียด
- ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 1 มื้อๆละ 60 บาท x 115 คน = 6,900บ.
- ค่าอาหารว่าง จำนวน 2 มื้อๆละ25บาท x 1 วัน x 115 คน = 5,750บ.
- รวมงบประมาณ กิจกรรมที่2 ทั้งสิ้น 12,650 บาท
งบประมาณ 12,650.00 บาท
ตั้งแต่ วันที่ 1 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
รวมงบประมาณโครงการ 24,300.00 บาท
- แกนนำรับรู้ และสามารถดูแลตัวเองเพื่อป้องกันการเกิดโรค NCDs หรือภาวะแทรกซ้อนจากโรค NCDs
- แกนนำสามารถสื่อสารความรู้ให้ชุมชนหรือคนในความปกครองเกี่ยวกับการดูแลตนเองเพื่อป้องกันการเกิดโรค NCDs หรือภาวะแทรกซ้อนจากโรค NCDs
ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้
- check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
- check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
- check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จวบ รหัส กปท. L8422
อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ
จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ
(...........................................................)
ตำแหน่ง ...............................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................
แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จวบ รหัส กปท. L8422
อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้
(....................................................................)
ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม
วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................
ตำแหน่ง ....................................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................