กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหนองจิก

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการสุขาภิบาลอาหารปลอดภัยใส่ใจผู้บริโภคในชุมชน ปี2568

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหนองจิก

ชมรมสุขาภิบาลเขตเทศบาลตำบลหนองจิก

1.นางนริสา บุญเทียม ตำแหน่ง ประธานชมรม
2.นางนูรียะห์ กาซอ ตำแหน่ง รองปรธานชมรม
3.นางสาววนิดา หัดเก็บ ตำแหน่ง เลขานุการ
4.นายอิบรอเฮม ดอเลาะ ตำแหน่งประชาสัมพันธ์
5.นางสาวรัตตืกาญ สุวรรณิตร ตำแหน่งเหรัญญิก

ลงพื้นที่ตรวจร้านอาหารในเขตเทศบาลตำบลหนองจิก

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

อาหารนับเป็นปัจจัยพื้นฐานในการดำรงชีวิตของมนุษย์ และเป็นสาเหตุสำคัญต่อการมีสุขภาพดีหรือไม่ดีของผู้บริโภคทั้งนี้ เพราะมีโรคหลายโรคที่เกิดจากการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกต้อง หรือบริโภคอาหารที่มีสิ่งปนเปื้อนจากสารเคมีหรือจุลินทรีย์ อันเนื่องมาจากเทคโนโลยีการผลิตอาหารมีการนำสารเคมีที่ไม่เหมาะสมมาใช้ในกระบวนการผลิตอาหาร และอาหารที่จัดไว้บริการไม่สะอาด ไม่ปลอดภัย ก็อาจทำให้เกิดโรคระบาดได้โดยมีน้ำและอาหารเป็นสื่อนำเชื้อโรคซึ่งจะก่อให้เกิดการเจ็บป่วยได้และการดูแลสุขภาพในเรื่องความสวยความงามก็เป็นอีกหนึ่งเรื่องของมนุษย์ ที่มีการใช้บริการกันแถบทุกวันจนไม่สามารถแยกออกจากกันได้ และร้านค้าที่ให้บริการก็ยังไม่ให้ความสำคัญกับหลักสุขาภิบาลที่ถูกต้องด้วยดังนั้นเพื่อความปลอดภัยและความมีสุขภาพที่ดีของผู้บริโภค ซึ่งเป็นการยกระดับและพัฒนาคุณภาพงานคุ้มครองผู้บริโภคจากการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพ โดยเปิดให้บริการแก่ผู้บริโภค หากผู้บริโภคประสบปัญหาเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภาพผิดกฎหมาย อีกทั้งยังเฝ้าระวังการโฆษณาหลอกลวงจากสื่อต่าง ๆ ซึ่งผู้บริโภคสามารถมาร้องเรียนได้ด้วยตัวเอง

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านอาหารและแผงลอย มีความเข้าใจในงานคุ้มครองผู้บริโภคและตระหนักถึงความปลอดภัยของบริโภค

ร้านอาหารและแผงลอยมีความเข้าใจในงานคุ้มครองผู้บริโภคและตระหนักถึงความปลอดภัยของบริโภค

10.00 15.00
2 2.เพื่อให้บริการแก่ผู้บริโภค หากผู้บริโภคประสบปัญหาเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภาพผิดกฎหมาย ซึ่งผู้บริโภคสามารถมาร้องเรียนได้ด้วยตัวเอง

ผู้บริโภคสามรถมาร้องเรียนได้ด้วยตนเอง

20.00 25.00
3 3.เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านอาหาร แผงลอย และตลาดนัด สามารถนำตัวอย่างอาหารเพื่อมารับการตรวจสารปนเปื้อนจากเจ้าหน้าที่

ผู้ประกอบการร้านอาหารสามารถนำอาหารมาตรวจสารปนเปื้อนจากเจ้าหน้าที่ได้

20.00 25.00

1.เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านอาหารและแผงลอยมีความเข้าใจในงานคุ้มครองผู้บริโภคและตระหนักถึงความปลอดภัยของบริโภค

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
ร้านอาหารและแผงลอย 25

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 17/02/2025

กำหนดเสร็จ 28/02/2025

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ลงพื้นที่ตรวจร้านอาหารและแผงลอย /ร้านชำมินิมามาร์ต/เซเว่น

ชื่อกิจกรรม
ลงพื้นที่ตรวจร้านอาหารและแผงลอย /ร้านชำมินิมามาร์ต/เซเว่น
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ค่าตอบแทนเจ้าหน้าที่ในการลงพื้นที่ตรวจ จำนวน 5 คน ๆ * 300 บาท  *  7 วัน = 10,500 บาท 2.ค่าน้ำยา Hi2 จำนวน 5 กล่องๆละ 1,200 = 6,000 บาท 3.ผ้ากันเปื้อนพร้อมสกรีนสำหรับร้านค้า 70 บาท * 35 ร้าน 2,450 บาท 4.ค่าใช้จ่ายอื่นๆ(ค้าป้าย SAN , กระดาษสำหรับผู้ผ่านการประเมิณ , อุปกรณ์ชุดตรวจ เป็นต้น ) =1,050 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
17 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 28 กุมภาพันธ์ 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ร้านอาหาร  แผงลอย  และตลาดนัด สามารถนำตัวอย่างอาหารเพื่อมารับการตรวจสารปนเปื้อนจากเจ้าหน้าที่ 2 เพื่อลดความเสี่ยงของผู้บริโภคอันเนื่องมาจากการบริโภคอาหารและใช้สินค้าที่ไม่ปลอดภัย 3.เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านอาหาร ร้านอาหาร  แผงลอย  และตลาดนัด สามารถนำตัวอย่างอาหารเพื่อมารับการตรวจสารปนเปื้อนจากเจ้าหน้าที่ 4.ประชาชนได้บริโภคอาหารที่สะอาดและใช้สินค้าที่ปลอดภัย

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
20000.00

กิจกรรมที่ 2 ติดตามประเมินผลการตรวจร้าน

ชื่อกิจกรรม
ติดตามประเมินผลการตรวจร้าน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
28 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 28 กุมภาพันธ์ 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

สามารถประเมินผลการตรวจร้านทั้งหมดในเขตเทศบาลตำบลหนองจิกต่อไป

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 3 มอบป้ายสำหรับร้านอาหารและแผงลอยที่ผ่านการประเมิน SAN

ชื่อกิจกรรม
มอบป้ายสำหรับร้านอาหารและแผงลอยที่ผ่านการประเมิน SAN
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
3 มีนาคม 2568 ถึง 3 มีนาคม 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ร้านอาหารที่ผ่านการอบรมสามารถเป็นผลการดำเนินการในรอบประเมินที่ดีกว่าเดิม

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 20,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ผู้ประกอบการร้านอาหารและแผงลอยมีความเข้าใจในงานคุ้มครองผู้บริโภคและตระหนักถึงความปลอดภัยของบริโภค
2..ผู้ประกอบการร้านอาหารแผงลอยและตลาดนัด สามารถนำตัวอย่างอาหารเพื่อมารับการตรวจสารปนเปื้อนจากเจ้าหน้าที่


>