กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จวบ รหัส กปท. L8422

อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2568 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการชุมชนสุขภาพดีด้วยอาหารปลอดภัย ปีงบประมาน 2568
2.
ชื่อ
check_box
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
โรงพยาบาลเจาะไอร้อง
3.
หลักการและเหตุผล

ในปัจจุบันวัฒนธรรมการบริโภคอาหาร ของประชาชนเปลี่ยนแปลงไป จากเดิมที่นิยมประกอบอาหารเพื่อบริโภคเอง โดยเปลี่ยนเป็นนิยม บริโภคอาหารนอกบ้านหรือบริโภคอาหารปรุงสำเร็จ สถานที่จำหน่ายอาหารจึงมีผลกระทบสำคัญต่อสุขภาพประชาชน เนื่องจากสถานที่จำหน่ายอาหารที่ไม่ถูกสุขลักษณะอาจทำให้เกิดการปนเปื้อนเชื้อโรค สารเคมี หรือโลหะหนัก รวมทั้งมีความเสี่ยงต่อการแพร่ระบาดของโรคที่มีอาหารและน้ำเป็นสื่อ ซึ่งกฎกระทรวงสุขลักษณะของสถานที่จำหน่ายอาหาร พ.ศ. 2561 แห่งพระราชบัญญัติสาธารณสุข พ.ศ. 2535 ได้กำหนดให้ผู้ประกอบกิจการร้านอาหารและผู้สัมผัสอาหารอาหารต้องดำเนินการตามกฎกระทรวงอย่างเคร่งครัด เพื่อให้สถานที่จำหน่ายอาหารมีสุขลักษณะที่ดี และลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรค โดยในพื้นที่ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส เป็นตำบลที่มีโรงเรียนทั้งภาครัฐ และภาคเอกชน รวมทั้งหมด 7 แห่ง และมีศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 4 แห่ง ซึ่งในแต่ละวันโรงเรียนต้องจัดทำอาหารกลางวันเพื่อบริการแก่นักเรียน ครู อาจารย์ เจ้าหน้าที่ต่างๆ รวมทั้งยังมีสถานที่จำหน่ายอาหารในชุมชนสำหรับจำหน่ายอาหารปรุงสุก เพื่อการบริโภคในครัวเรือน และบริเวณสถานที่จำหน่ายอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร จากผลการดำเนินงาน ในปีงบประมาณ 2567 ผลการตรวจเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรียในอุปกรณ์ อาหารปรุงสุก และมือผู้สัมผัสอาหาร ในร้านจำหน่ายอาหาร พบว่า ผ่านตามเกณฑ์มาตรฐานสุขาภิบาลอาหาร ร้อยละ 20ไม่ผ่านตามเกณฑ์มาตรฐานสุขาภิบาลอาหาร ร้อยละ 80 ในโรงเรียน พบว่า ผ่านตามเกณฑ์มาตรฐานสุขาภิบาลอาหาร ร้อยละ 14.29ไม่ผ่านตามเกณฑ์มาตรฐานสุขาภิบาลอาหาร ร้อยละ 85.71 และในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก พบว่า ผ่านตามเกณฑ์มาตรฐานสุขาภิบาลอาหาร ร้อยละ 25ไม่ผ่านตามเกณฑ์มาตรฐานสุขาภิบาลอาหาร ร้อยละ 75 จากสภาพปัญหาดังกล่าว กลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิและองค์รวมโรงพยาบาลเจาะไอร้อง จึงจัดทำโครงการชุมชนสุขภาพดีด้วยอาหารปลอดภัย ปีงบประมาน 2568 ในพื้นที่ตำบลจวบ เพื่อเป็นการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านอาหารและจัดการด้านสุขาภิบาลอาหารที่ถูกต้องตามกฎกระทรวงสุขลักษณะของสถานที่จำหน่ายอาหาร พ.ศ. 2561 กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข โดยมุ่งเน้นให้เกิดความสะอาดและปลอดภัยในด้านโครงสร้าง กายภาพ ชีวภาพและเคมี แก่ผู้บริโภค ปราศจากสารปนเปื้อนที่ก่อให้เกิดโรคในระบบทางเดินอาหาร และโรคที่เกิดจากอาหารเป็นสื่อ (Foodborne diseases) รวมทั้งสารเคมีหรือโลหะหนักด้วย

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. 1.เพื่อส่งเสริมให้ผู้ประกอบการร้านจำหน่ายอาหาร และแผงลอยจำหน่ายอาหาร มีความเข้าใจและเห็นความสำคัญการให้บริการอาหารที่ปลอดภัย
    ตัวชี้วัด : ผู้ประกอบการร้านจำหน่ายอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร มีความรู้เพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 2. เพื่อส่งเสริมให้ผู้บริหารโรงเรียน และศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีความเข้าใจและเห็นความสำคัญการให้บริการอาหารที่ปลอดภัย
    ตัวชี้วัด : ผู้บริหารโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีความรู้เพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 3. เพื่อเฝ้าระวังการจัดการสุขาภิบาลอาหาร ร้านจำหน่ายอาหาร แผงลอยจำหน่ายอาหาร โรงเรียน และศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
    ตัวชี้วัด : - ร้านจำหน่ายอาหาร ได้รับการตรวจเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรียในอาหาร ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - โรงเรียน เขตตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้องได้รับการตรวจเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรียในอาหารไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เขตตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง ได้รับการตรวจเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรียในอาหารไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. จัดอบรมการเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ ให้แก่ ผู้ประกอบการร้านจำหน่ายอาหาร แผงลอยจำหน่ายอาหาร โรงเรียน และศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
    รายละเอียด
    • ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 1 มื้อๆละ  60 บาท x 1 วัน x 31 คน = 1,860 บาท
    • ค่าอาหารว่าง จำนวน 2 มื้อๆละ 25 บาท x 1 วัน x 31 คน = 1,550 บาท
    • ค่าป้ายไวนิลโครงการ ขนาด 1.2 เมตร x 2.4 เมตร จำนวน 1 ป้าย = 720 บาท
    • ค่าวิทยากรบรรยาย จำนวน 6 ชม.ๆละ 600 บาท = 3,600 บาท
    • รวมงบประมาณ กิจกรรมที่ 1 ทั้งสิ้น 7,730บาท
    งบประมาณ 7,730.00 บาท
  • 2. ตรวจเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรียในอาหาร (SI-2) และตรวจเชื้อโคลิฟอร์มในน้ำและน้ำแข็ง (อ.11)
    รายละเอียด

    1.น้ำยาตรวจเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรียในอาหาร (SI-2)
    - ร้านอาหาร (SI-2) 21.40 บาท/ขวด x 10 ขวด/ร้าน x 10 ร้าน = 2,140 บาท
    - แผงลอยจำหน่ายอาหาร (SI-2) 21.40 บาท/ขวด x 10 ขวด/ร้าน x 10 ร้าน = 2,140 บาท - โรงเรียน (SI-2) 21.40 บาท/ขวด x 10 ขวด/โรงเรียน x 7 แห่ง = 1,498 บาท
    - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (SI-2) 21.40 บาท/ขวด x 10 ขวด/ศพด. x 4 แห่ง = 856 บาท
    - ชุดตรวจเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรียในอาหารพร้อมอุปกรณ์การตรวจ (SI-2) 1,070 บ/ชุด x 2 ชุด = 2,140 บาท

    2.น้ำยาตรวจเชื้อโคลิฟอร์มในน้ำและน้ำแข็ง (อ.11)
    - ร้านอาหาร (อ.11) 21.40 บาท/ขวด x 10 ขวด/ร้าน x 10 ร้าน = 2,140 บาท
    - แผงลอยจำหน่ายอาหาร (อ.11) 21.40 บาท/ขวด x 10 ขวด/ร้าน x 10 ร้าน= 2,140 บาท - โรงเรียน (อ.11) 21.40 บาท/ขวด x 10 ขวด/โรงเรียน x 7 แห่ง = 1,498 บาท
    - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (อ.11) 21.40 บาท/ขวด x 10 ขวด/ศพด. x 4 แห่ง = 856 บาท
    - ชุดน้ำยาตรวจเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรียในน้ำและน้ำแข็งพร้อมอุปกรณ์การตรวจ (อ.11) 1,070 บ./ชุด x 2 ชุด =2,140 บาท - ป้ายรับรองมาตรฐาน “สะอาด ปลอดภัย ได้มาตรฐาน : SAN” (Sanitation, Accountability,Network). = 10 แผ่น x 500 บาท/แผ่น = 5,000 บาท - รวมงบประมาณ กิจกรรมที่ 2 ทั้งสิ้น 22,548 บาท

    งบประมาณ 22,548.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 มกราคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

8.
สถานที่ดำเนินการ

ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 30,278.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

1.ผู้ประกอบกิจการและผู้สัมผัสอาหารสถานที่จำหน่ายอาหาร มีความเข้าใจและเห็นความสำคัญหลักสุขาภิบาลอาหารที่ถูกต้อง 2.ผู้ประกอบกิจการแผงลอยจำหน่ายอาหาร มีความเข้าใจและเห็นความสำคัญหลักสุขาภิบาลอาหารที่ถูกต้อง 3.ผู้บริหารสถานศึกษา มีความเข้าใจและเห็นความสำคัญหลักสุขาภิบาลอาหารที่ถูกต้อง 4.ผู้บริโภคในตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง ได้รับประทานอาหารที่ถูกหลักสุขาภิบาลอาหาร

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จวบ รหัส กปท. L8422

อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2568
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.จวบ
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จวบ รหัส กปท. L8422

อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 30,278.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................