กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบุดี

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการสร้างเสริมและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ห่างไกลโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบุดี

ชมรม อสม. หมู่ 5 บ้านไบก์

1.นางสาวรอฮานาการอ ประธานกรรมการ
2.นายอะห์หมัดบาการองประธาน
3.นางหามีดะห์ลูแมเลขานุการ
4.นางรอกีเย๊าะมูซอกรรมการ
5.นางอาแวเสาะแวบือซา กรรมการ

ตำบลบุดี

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ปัจจุบันประเทศไทยกำลังเผชิญกับปัญหาด้านสุขภาพเพิ่มสูงขึ้น โดยเฉพาะกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) ปัจจัยที่ทำให้เกิด NCDs ในประเทศไทยได้แก่พฤติกรรมการบริโภคที่ไม่พึงประสงค์ โดยพบว่า อัตราการบริโภคโซเดียม และน้ำตาลของประชากรไทยสูงเป็น 2 เท่า และ 4 เท่าของปริมาณที่องค์การอนามัยโลกแนะนำให้บริโภคต่อวัน นอกจากนั้น การสูบบุหรี่ยังคงเป็น สาเหตุการเสียชีวิต และเจ็บป่วยอันดับต้น ๆ ของคนไทยด้วย จากการสำรวจปัญหาสุขภาพของประชาชนชุมชนบ้านไบก์ ในปี 2567 ที่ผ่านมา ในประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไปเป็นโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 80 คน และโรคเบาหวาน จำนวน 30 คน อีกทั้งผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น การเสริมสร้างให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพร่วมกับการจัดกิจกรรมเพื่อสุขภาพในชุมชน สามารถป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรังได้โดยการมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพที่เหมาะสม การออกกำลังกาย การพักผ่อนหย่อนใจเพื่อคลายความเครียดการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ และการตรวจคัดกรองโรคด้วยตนเอง เป็นต้น
ทางชมรม อสม. หมู่ 5 บ้านไบก์ได้ตระหนักถึงความสำคัญ จึงได้จัดทำโครงการสร้างเสริมและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพห่างไกลโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เพื่อลดอัตราการป่วยและช่วยป้องกันโรคให้ประชาชนในพื้นที่ ให้มีสุขภาพที่ดี มีความรู้ในการดูแลตนเอง ห่างไกลจากโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ข้อที่ 1 ประชาชนอายุ 15 ปี ขึ้นไป ได้รับการตรวจสุขภาพทุกเดือน

ร้อยละ 80 ของ ประชาชนอายุ 15 ขึ้นไป ได้รับการตรวจสุขภาพ

1.00 1.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 45
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 896
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/02/2025

กำหนดเสร็จ 31/08/2025

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมติดตามตรวจสุขภาพประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป ทุกเดือน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมติดตามตรวจสุขภาพประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป ทุกเดือน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ค่าเครื่องวัดความดันโลหิตชนิดดิจิตอล จำนวน 2 เครื่อง x 2,500 บาท
    เป็นเงิน 5,000 บาท
  2. ค่าเครื่องชั่งน้ำหนักดิจิตอล จำนวน  1 เครื่อง x 1,200 บาท
    เป็นเงิน 1,200 บาท
  3. ค่าเครื่องตรวจน้ำตาลในเลือดปลายนิ้ว จำนวน 1 เครื่อง x 1,500 บาท   เป็นเงิน 1,500 บาท
  4. ถ่านกระดุม จำนวน 26 ก้อน x 50 บาท
      เป็นเงิน 1,300 บาท
  5. วงล้อคัดกรองความเสี่ยงเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
        ขนาด 28 ซม จำนวน 1 ชิ้น x 1,000 บาท
    เป็นเงิน 1,000 บาท รวมเป็นเงิน 10,000.- บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
10000.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมอบรมให้ความรู้ฯ

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมอบรมให้ความรู้ฯ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 1 มื้อๆละ 75 บาท จำนวน 45 คน
                                                      เป็นเงิน 3,375 บาท 7.ค่าอาหารว่าง จำนวน 2 มื้อๆละ 35 บาท  จำนวน 45 คน
                                                   เป็นเงิน 3,150 บาท 8.ค่าวิทยากร จำนวน 5 ชั่วโมงๆละ 600 บาท จำนวน 1 คน
                                                      เป็นเงิน 3,000 บาท รวมเป็นเงิน 9,525.- บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
9525.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 19,525.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ประชาชนได้รับความรู้เกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน และวิธีการดูแลสุขภาพ อาหาร การป้องกันโรคต่างๆ
2.ประชาชนมีความตระหนักในความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพในการป้องกันโรคมากขึ้น
3.ประชาชนสามารถถ่ายทอดความรู้สู่บุคคลในครอบครัวได้
4.ประชาชนได้รับการตรวจสุขภาพทุกเดือน


>