กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการการส่งเสริมสุขภาพสตรีในการควบคุมป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จวบ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการการส่งเสริมสุขภาพสตรีในการควบคุมป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จวบ

โรงพยาบาลเจาะไอร้อง

ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

หลักกการและเหตุผล
ในสถานการณ์ปัจจุบันนี้โรคมะเร็งเป็นสาเหตุของการเสียชีวิตของคนไทยเป็นอันดับหนึ่ง พบว่ามะเร็งปากมดลูกเป็นสาเหตุทำให้ผู้หญิงไทยเสียชีวิตมาก ประมาณปีละกว่า ๕,๐๐๐ ราย เฉลี่ยวันละ ๑๔ ราย แต่ละปีพบผู้ป่วยรายใหม่เพิ่มขึ้นประมาณ ๑๐,๐๐๐ ราย อายุที่พบเฉลี่ยประมาณ ๓๐ – ๕๐ ปี ผู้ป่วยกว่า ร้อยละ ๘๐ มีอายุต่ำกว่า ๖๐ ปี กลุ่มที่มีความเสี่ยงเป็นมะเร็งปากมดลูกสูงกว่าคนทั่วไปได้แก่ ผู้หญิงที่มีเพศสัมพันธ์ครั้งแรกตั้งแต่อายุยังน้อย ผู้หญิงที่มีคู่นอนหลายคน หรือติดเชื้ออื่นๆ เช่น เชื้อโรคเริมหรือเอดส์ มีประวัติการติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เช่น ซิฟิลิส หนองใน เริม รวมทั้งผู้หญิงที่สูบบุหรี่เป็นประจำด้วย (สำนักงานพัฒนาระบบระบบข้อมูลข่าวสุขภาพ)
จากผลการดำเนินงานตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสตรี อายุ ๓๐ - ๖๐ ปี อำเภอเจาะไอร้อง ปี ๒๕๖๖พบว่า มีสตรีวัยเจริญพันธุ์อายุ ๓๐-๖๐ปี จำนวน ๑,๕๕๔ คน ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก จำนวน ๗๘ คน คิดเป็นร้อยละ ๕.๐๑ ซึ่งเป็นจำนวนที่น้อย ปัญหาที่เป็นสาเหตุที่ทำให้กลุ่มเป้าหมายไม่รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก คือ ปัญหาด้านความรู้ และมีทัศนะคติที่ไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการตรวจอีกทั้งอาจเข้าใจว่าโรคมะเร็งปากมดลูกไม่เกิดกับทุกคน เพราะในหมู่บ้านที่อาศัยอยู่ยังพบผู้ป่วยน้อยเมื่อเทียบกับโรคอื่นๆ
โรงพยาบาลเจาะไอร้อง จึงจัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพสตรีในการควบคุมป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูกเพื่อให้ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายดังกล่าว อันจะช่วยทำให้พบผู้ป่วยด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกได้ตั้งแต่ระยะเริ่มแรกได้มากขึ้น และจะส่งผลให้ลดอัตราการตายจากโรคมะเร็งได้อีกทางหนึ่ง
หมู่บ้านที่อาศัยอยู่ยังพบผู้ป่วยน้อยเมื่อเทียบกับโรคอื่นๆ
โรงพยาบาลเจาะไอร้อง จึงจัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพสตรีในการควบคุมป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูกเพื่อให้ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายดังกล่าว อันจะช่วยทำให้พบผู้ป่วยด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกได้ตั้งแต่ระยะเริ่มแรกได้มากขึ้น และจะส่งผลให้ลดอัตราการตายจากโรคมะเร็งได้อีกทางหนึ่ง

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ด้านสุขภาพที่ถูกต้องเกี่ยวกับมะเร็งปากมดลูก

 

0.00
2 เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ ๓๐ - ๖๐ ปี ได้รับบริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก

สตรีอายุ ๓๐ - ๖๐ ปี ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูกHPV DNA TEST (สะสม ๕ ปี)

0.00
3 สตรีที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับส่งต่อและรักษาทุกราย

สตรีอายุ ๓๐-๖๐ ปี ที่ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูกHPV DNA TEST พบผลผิดปกติได้รับการส่งต่อร้อยละ>๗๐

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 240
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/02/2025

กำหนดเสร็จ 30/09/2025

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 การส่งเสริมสุขภาพสตรีในการควบคุมป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูก

ชื่อกิจกรรม
การส่งเสริมสุขภาพสตรีในการควบคุมป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูก
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 1 มื้อๆละ 60 บาท  x 240 คน = 14,400 บาท
  • ค่าอาหารว่าง จำนวน 2 มื้อๆละ25 บาท x 1 วัน x 240 คน = 12,000 บาท.
  • ค่าป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์โครงการ  ขนาด 1.2 เมตร x 2.4 เมตร จำนวน 1ป้าย = 720 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
27120.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 27,120.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. สตรีอายุ ๓๐ - ๖๐ ปี ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูกHPV DNA TEST
2. สตรีอายุ ๓๐ - ๖๐ ปี ที่ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูกHPV DNA TEST พบผลผิดปกติได้รับการส่งต่อ


>