กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาตอง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการสวนสมุนไพรเพื่อสุขภาพประจำหมู่บ้าน

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาตอง

นายมาหามะยัง สตาปอ

มัสยิดบ้านบาโงหมู่ 4 ตำบลกาตอง อำเภอยะหา จังหวัดยะลา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง , แผนอนามัยและสิ่งแวดล้อม

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละประชากรเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อ เช่น NCDs เบาหวาน ความดันโลหิตสูง

 

80.00
2 ร้อยละของครัวเรือนมีการใช้ยาเพื่อ บำบัด บรรเทาอาการเจ็บป่วย เบื้องต้นอย่างเหมาะสม

 

80.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดจำนวนประชากรเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อ เช่น NCDs เบาหวาน ความดันโลหิตสูง

ร้อยละประชากรเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อ เช่น  NCDs เบาหวาน ความดันโลหิตสูง

80.00 90.00
2 เพื่อเพิ่มจำนวนครัวเรือนมีการใช้ยาเพื่อ บำบัด บรรเทาอาการเจ็บป่วย เบื้องต้นอย่างเหมาะสม

ร้อยละของครัวเรือนมีการใช้ยาเพื่อ บำบัด บรรเทาอาการเจ็บป่วย เบื้องต้นอย่างเหมาะสม

80.00 90.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 40
กลุ่มผู้สูงอายุ 40
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/02/2025

กำหนดเสร็จ 30/09/2025

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1. การเตรียมงาน

ชื่อกิจกรรม
1. การเตรียมงาน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

แต่งตั้งคณะทำงาน     - คัดเลือกตัวแทนชุมชน เช่น ผู้นำหมู่บ้าน อสม. และอาสาสมัครจากชาวบ้าน     - จัดประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์และแนวทางดำเนินงาน     - มอบหมายหน้าที่ เช่น ฝ่ายเพาะปลูก ฝ่ายประชาสัมพันธ์ ฝ่ายแปรรูป ฯลฯ     กำหนดพื้นที่ปลูก     - สำรวจพื้นที่ที่เหมาะสม เช่น ที่ดินสาธารณะหรือพื้นที่รกร้างในหมู่บ้าน     - ประสานงานขอกับหน่วยงานท้องถิ่นเพื่อใช้พื้นที่     - เตรียมดิน ปรับปรุงสภาพแวดล้อม และติดตั้งระบบน้ำเบื้องต้น     จัดหาเมล็ดพันธุ์และอุปกรณ์     - ขอรับบริจาคจากชาวบ้านหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง     - จัดซื้อสมุนไพรที่จำเป็น เช่น ตะไคร้ ขิง ฟ้าทะลายโจร ขมิ้น     - จัดเตรียมอุปกรณ์ เช่น จอบ เสียม ถังน้ำ ปุ๋ยอินทรีย์

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 28 กุมภาพันธ์ 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. ชุมชนมีแหล่งสมุนไพรที่สามารถนำมาใช้ในชีวิตประจำวัน
  2. ประชาชนมีความรู้และตระหนักถึงคุณค่าของสมุนไพรไทย
  3. สามารถต่อยอดไปสู่การสร้างอาชีพและรายได้ให้กับชุมชน
  4. ช่วยลดค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพจากการใช้สมุนไพรทดแทน
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 ขั้นตอนที่ 1: การเตรียมดินและแปลงปลูก (สัปดาห์ที่ 1-2)

ชื่อกิจกรรม
ขั้นตอนที่ 1: การเตรียมดินและแปลงปลูก (สัปดาห์ที่ 1-2)
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ขั้นตอนที่ 1: การเตรียมดินและแปลงปลูก (สัปดาห์ที่ 1-2)     - กำจัดวัชพืช ปรับปรุงดิน และวางแผนการปลูก     - ปลูกสมุนไพรตามแผนที่กำหนด เช่น ปลูกเป็นแถวหรือแปลงรวม     - ติดตั้งระบบน้ำหยดหรือรดน้ำแบบธรรมดา     ขั้นตอนที่ 2: การปลูกและดูแลรักษา (สัปดาห์ที่ 3-12)     - ปลูกสมุนไพรตามแนวทางที่กำหนด     - รดน้ำ พรวนดิน และใส่ปุ๋ยอย่างสม่ำเสมอ     - ติดตามการเจริญเติบโต และป้องกันโรคพืชด้วยวิธีธรรมชาติ     - อสม. และชาวบ้านผลัดเวรดูแลสวนสมุนไพร     ขั้นตอนที่ 3: การอบรมให้ความรู้ (เดือนที่ 2-3)     - เชิญวิทยากรจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) มาให้ความรู้     - จัดกิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับประโยชน์และวิธีใช้สมุนไพรในชีวิตประจำวัน     - แจกเอกสารและสาธิตการใช้สมุนไพรเพื่อสุขภาพ     ขั้นตอนที่ 4: การแปรรูปสมุนไพร (เดือนที่ 4-5)     - จัดอบรมการแปรรูปสมุนไพรเป็นผลิตภัณฑ์ เช่น น้ำสมุนไพร ยาดม ชาสมุนไพร     - ทดลองผลิตภัณฑ์ในครัวเรือน เช่น ชาชง ยาหม่อง น้ำมันสมุนไพร     - ออกแบบบรรจุภัณฑ์อย่างง่ายสำหรับใช้ในชุมชน     ขั้นตอนที่ 5: การเผยแพร่และขยายผล (เดือนที่ 6)     - ประชาสัมพันธ์โครงการผ่านช่องทางออนไลน์ เช่น กลุ่มไลน์ หรือเพจหมู่บ้าน     - จัดกิจกรรมแสดงผลิตภัณฑ์ในงานชุมชน     - สรุปผลการดำเนินโครงการและเสนอแนวทางต่อยอด จํานวน 49,850 บาท รายละเอียด ดังนี้
1,800 บาท
ค่าตอบแทนวิทยากร 2 วัน 6 ชั่วโมง 300x6
ค่าป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ 2 ป้ายๆละ 500 ขนาด 1x2 =500
1,000 บาท
ค่าเบรก 2 วัน คนละ 35 บาท 120x35 วันละ 4200x2
8,400 บาท
ค่าออกแบบและเผยแพร่สื่อออนไลน์
1,000 บาท
ค่าวัสดุอบรม (สมุด, ปากกา, เอกสาร, ค่าถ่ายเอกสาร ฯลฯ) 120x24
2,900 บาท
ลงชื่อ ค่าต้นพันธุ์สมุนไพร 350 ต้น ดันละ 25 บาท 350x25
8,750 บาท
มที่-เดือน-พ.ศ.
แหน่ง ประธาน
ค่าวัสดุอุปกรณ์
- ปุ๋ยอินทรีย์ 30 กระสอบ (กระสอบละ 200 บาท) 30x200
6,000 บาท
- ระบบน้ำหยด (ท่อ PVC, สายยาง, ข้อต่อ, ถังเก็บน้ำขนาด 1,000 ลิตร)
6,000 บาท
- เครื่องมือทำสวน (จอบ 5 อัน, เสียม 5 อัน, บัวรดน้ำ, ถังน้ำ ฯลฯ)
3,000 บาท
ค่าบรรจุภัณฑ์แปรรูป
- ของชาสมุนไพร 500 ใบ (ใบละ 2 บาท)
1,000 บาท
- ขวดน้ำสมุนไพร 200 ขวด (ขวดละ 5 บาท)
1,000 บาท
- กระปุกยาหม่องสมุนไพร 100 กระปุก (กระปุกละ 8 บาท)
800 บาท
- ฉลากและสติกเกอร์พิมพ์ชื่อผลิตภัณฑ์
2,200 บาท
ค่าแรงดูแลสวน (ค่าตอบแทนอาสาสมัครหมู่บ้าน 6 คน เดือนละ 1,000 บาท x 3 เดือน) 6,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. ชุมชนมีแหล่งสมุนไพรที่สามารถนำมาใช้ในชีวิตประจำวัน
  2. ประชาชนมีความรู้และตระหนักถึงคุณค่าของสมุนไพรไทย
  3. สามารถต่อยอดไปสู่การสร้างอาชีพและรายได้ให้กับชุมชน
  4. ช่วยลดค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพจากการใช้สมุนไพรทดแทน
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
49850.00

กิจกรรมที่ 3 3. การติดตามผลและประเมินผล

ชื่อกิจกรรม
3. การติดตามผลและประเมินผล
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ประเมินความพึงพอใจของชาวบ้านต่อโครงการโดยใช้แบบสอบถาม
    • ติดตามผลการใช้สมุนไพรในครัวเรือนและสุขภาพของชาวบ้าน
    • จัดประชุมสรุปปัญหาและอุปสรรคเพื่อปรับปรุงในอนาคต
    • วางแผนขยายโครงการหากได้รับผลตอบรับที่ดี
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กันยายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 49,850.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?


>