แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบุดี รหัส กปท. L4135
อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"
อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2568 โดยมีรายละเอียด ดังนี้
วัณโรคเป็นปัญหาสาธารณสุข ที่สำคัญของประเทศไทยมาเป็นเวลานาน ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายทางสังคมและเศรษฐกิจอย่างมาก อุบัติการณ์ของวัณโรคเคยลดลงอย่างช้า ๆในอดีต แต่ในระยะหลังนี้กลับเพิ่มขึ้น เนื่องจากการแพร่ระบาดของโรคเอดส์และการดื้อยา แม้ว่าประเทศไทยนำกลยุทธ์ DOTS มาใช้ในการดำเนินงานควบคุมป้องกันวัณโรค แต่อัตราผู้ป่วยวัณโรคปอดเสมหะพบเชื้อยังอยู่ และประกอบกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคเอดส์ ทำให้ปัญหาวัณโรคทวีความรุนแรงยิ่งขึ้น ในแต่ละปีมีผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ขึ้นทะเบียนรายใหม่ ประมาณครึ่งหนึ่งเป็นผู้ป่วยวัณโรคปอดเสมหะบวกที่สามารถแพร่เชื้อได้ และมีแนวโน้มของการดื้อยารักษาวัณโรคเพิ่มสูงขึ้น การดำเนินการเร่งรัด การค้นหาผู้ที่มีอาการเข้าข่ายเป็นผู้ป่วยติดเชื้อวัณโรครายใหม่ อาทิ ผู้สูงอายุประวัติสูบบุหรี่ ผู้ป่วยที่ติดเชื้อเอชไอวี ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ผู้ป่วยโรคไต ผู้ที่อาศัยร่วมบ้านกับผู้ป่วยวัณโรค และบุคลากรทางการแพทย์ พบว่าอัตราการค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ได้เพียง 104 ต่อแสนประชากร ยังน้อยกว่าเกณฑ์ของประเทศ (150 ต่อ แสนประชากร)เป้าหมายร้อยละ 88 สถานการณ์วัณโรคโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบุดี ปีงบประมาณ 2566 พบผู้ป่วย 6 ราย รักษาครบ/หาย จำนวน 6 รายปีงบประมาณ 2567พบผู้ป่วยจำนวน 6 ราย รักษาครบ/หาย 6 รายคิดเป็นร้อยละ 100 (เป้าหมายร้อยละ 90 ) ปีงบประมาณ 2568 พบผู้ป่วยจำนวน 1 ราย กำลังรักษา 1 รายเนื่องจากกลุ่มเสี่ยงได้รับการคัดกรองยังไม่ครอบคลุมทำให้ผู้ป่วยรายใหม่ ยังไม่ถูกค้นพบและเชื้อโรคแพร่กระจายไปในชุมชนได้อย่างรวดเร็ว เพื่อดังนั้นจึงต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกภาคส่วน เพื่อที่จะลดปัญหาของการเกิดโรควัณโรคและภัยสุขภาพได้ ดังนั้นการค้นหาผุ้ป่วยวัณโรคในกลุ่มเสี่ยงจึงมีความสำคัญและจำเป็นในการลดการแพร่กระจายเชื้อโรค เนื่องจากหากสามารถนำผู้ป่วยเข้าสู่ระบบการรักษาได้เร็วและได้รับการดูแลรักษาอย่างต่อเนื่องจากเจ้าหน้าที่ จะทำให้เกิดผลสำเร็จในการรักษาและลดปัญหาการดื้อยาวัณโรคเชิงรุกด้วยการตรวจหาเชื้อวัณโรคและเอกซเรย์ทรวงอก เพื่อทำให้ผู้ที่มีอาการสงสัยวัณโรคได้เข้ารับการตรวจวินิจฉัยและรักษาในระยะเริ่มแรก ซึ่งเป็นกาตัดวงจรการแพร่กระจายและลดอัตราการเสียชีวิตจากการป่วยด้วยวัณโรค
-
1. ข้อที่ 1 เพื่อค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ในกลุ่มเสี่ยงตัวชี้วัด : 1.อัตราความครอบคลุมการค้นหาและขึ้นทะเบียนรักษารายใหม่และกลับเป็นซ้ำ ร้อยละ 90ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
-
2. ข้อที่ 2 เพื่อให้ผู้ป่วยวัณโรคเข้าถึงการรักษาที่มีคุณภาพโดยเน้นการควบคุมกำกับการรักษาแบบมีพี่เลี้ยง (DOT) โดย จนท.สาธารณสุขตัวชี้วัด : 2.ผู้ป่วยได้รับการติดตาม DOTกำกับการกินยาและเยี่ยมบ้าน ร้อยละ 100ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
-
3. ข้อ 3 เพื่อเพิ่มอัตราความสำเร็จในการรักษาวัณโรคตัวชี้วัด : 3.อัตราความสำเร็จการรักษาวัณโรคร้อยละ 88ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
- 1. อบรมให้ความรู้ เรื่องวัณโรคในกลุ่มเสี่ยงผู้ป่วยเบาหวานที่มีอายุ 65 ปีขึ้นไปผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลไม่ดี(รับยาที่รพ.สต.) และประชาชนที่มีอายุ 65 ปีขึ้นไปที่สูบบุหรี่ เพื่อสร้างความเข้าใจ และสร้างความรอบรู้เรื่องวัณโรค จำนวน 70 คนรายละเอียด
-
- ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 5 ชั่วโมงๆละ 600.- บาท จำนวน 1 วัน เป็นเงิน 3,000.- บาท
-
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 70 คน x 2 มื้อ x 1 วัน x 35 บาท เป็นเงิน 4,900.- บาท
-
- ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 70 คน x 1 มื้อ x 1 วัน x 75 บาท เป็นเงิน 5,250.- บาท
งบประมาณ 13,150.00 บาท -
- 2. .กิจกรรมค้นหา/คัดกรองกลุ่มเสี่ยง วัณโรค โดย อสม. ที่ผ่านการอบรมและเจ้าหน้าที่สาธารณสุขรายละเอียดงบประมาณ 0.00 บาท
- 3. 3.กิจกรรมติดตามเยี่ยมบ้าน เพื่อกำกับการกินยาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่รายละเอียดงบประมาณ 0.00 บาท
ตั้งแต่ วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
ตำบลบุดี
รวมงบประมาณโครงการ 13,150.00 บาท
1.ประชาชนกลุ่มเสี่ยง มีความเข้าใจ และสร้างความรอบรู้เรื่องวัณโรค ร้อยละ 90 2.อัตราความครอบคลุมการค้นหาและขึ้นทะเบียนรักษารายใหม่และกลับเป็นซ้ำ ร้อยละ 90 3.ผู้ป่วยได้รับการติดตามเยี่ยมบ้าน เพื่อกำกับการกินยาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ ร้อยละ 100
ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้
- check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
- check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
- check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบุดี รหัส กปท. L4135
อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ
จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ
(...........................................................)
ตำแหน่ง ...............................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................
แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบุดี รหัส กปท. L4135
อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้
(....................................................................)
ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม
วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................
ตำแหน่ง ....................................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................