กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะหา

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการ รอบรู้สุขภาพ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะหา

ศสม.ยะหาโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชยะหา

ม.1,2,3,6,9

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 หลักการและเหตุผล กลุ่มโรค NCDs (Noncommunicable diseases หรือโรคไม่ติดต่อเรื้งรัง ) เป็นโรคที่เกิดจากนิสัยหรือพฤติกรรมการดำเนิน เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงโรคอ้วน ลงพุง โรคหัวใจ และหลอดเลือด โรคถุงลมโปร่งพอง และโรคมะเร็ง ซึ่งถือเป็นปัญหาสุขภาพที่สำ

 

0.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1.กลุ่มเสี่ยงที่สงสัยป่วยด้วยโรคความดันโลหิตได้รับการตรวจติดตามประเมินภาวะความดันโลหิตสูงซ้ำ

อัตรากลุ่มสงสัยป่วยด้วยโรคความดันโลหิตได้รับการตรวจตรวจติดตามยืนยันวินิจฉัยกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่บ้านร้อยละ80

0.00
2 2. กลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงได้รับการประเมินพฤติกรรมสุขภาพ

กลุ่มสงสัยป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงได้รับการส่งต่อพบแพทย์เพื่อรับการรักษาต่อร้อยละ100

96.00 1.00
3 3. ประชาชนเข้าร่วมกิจกรรมความรอบรู้ด้านสุขภาพ

ประชาชนได้รับการประเมินพฤติกรรมสุขภาพร้อยละ80

96.00 1.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 96
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 14/03/2025

กำหนดเสร็จ 30/09/2025

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมที่ ๑ กิจกรรม “รู้จักตนเอง”

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ ๑ กิจกรรม “รู้จักตนเอง”
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.1คัดแยกรายชื่อกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูงทั้ง 5 หมู่บ้านได้แก่หมู่ที่ 1 ,2,3,6และ หมู่9 1.2.นัดกลุ่มเสี่ยงที่สงสัยป่วยด้วยโรคความดันโลหิตได้รับการตรวจติดตามซ้ำและอธิบายการวัดความดันโลหิตด้วยตนเองที่บ้าน 1.3.ลงตรวจประเมินกกลุ่มเสี่ยงที่สงสัยป่วยด้วยโรคความดันโลหิตได้รับการตรวจติดตามซ้ำและอธิบายการวัดความดันโลหิตด้วยตนเองที่บ้าน 1.4.อาสาสมัครสาธารณสุขชุมชน/เจ้าหน้าที่ลงเยี่ยมบ้านดำเนินการติดตามกลุ่มเสี่ยงที่สงสัยป่วยด้วยโรคความดันโลหิตโดยสอนการตรวจวัดความดันโลหิตสูงที่บ้าน7วันในรายที่ไม่มาตรวจตามนัด ณ สถานที่นัดบริการในชุมชน 1.5 ให้ความรู้หลักการดูแลสุขภาพเบื้องต้น 1.6.กลุ่มสงสัยป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงได้รับการส่งต่อพบแพทย์เพื่อรับการรักษาต่อ งบประมาณ กิจกรรม 1กิจกรรม“รู้จักตนเอง” -ค่าอาหารว่าง/เครื่องดื่ม96 คน × 25 บาท × 2 มื้อ เป็นเงิน 4,800 บาท -ค่าอาหารกลางวัน96 คน × 50 บาท × 1 มื้อ เป็นเงิน 4,800 บาท รวมเป็นเงิน 9,600 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
28 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. อัตรากลุ่มสงสัยป่วยด้วยโรคความดันโลหิตได้รับการตรวจตรวจติดตามยืนยันวินิจฉัยกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่บ้านร้อยละ80
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
9600.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมที่2กิจกรรม“รู้ตามติด” ให้ความรู้กับประชาชนตามฐานความรู้ต่างๆ จำนวน 2 ฐาน และในแต่ละฐานมีการให้ความรู้ดังต่อไปนี้

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่2กิจกรรม“รู้ตามติด” ให้ความรู้กับประชาชนตามฐานความรู้ต่างๆ จำนวน 2 ฐาน และในแต่ละฐานมีการให้ความรู้ดังต่อไปนี้
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

2.1 ฐานที่1 ติดตามผลตรวจความดันโลหิตติดตามผลตรวจเบาหวานติดตามน้ำหนักครั้งที่1 2.2 ฐานที่ 2รอบรู้เรื่องโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูงติดตามประเมินพฤติกรรมด้านสุขภาพครั้งที่1 2.2 ฐานที่ ๒ รอบรู้เรื่อง3อ.2ส. งบประมาณ กิจกรรม2 กิจกรรม“รู้ตามติด”ประเมินความรอบรู้สุขภาพพฤติกรรมเสี่ยงในกลุ่มสมัครใจ -ค่าอาหารว่าง/เครื่องดื่ม 40คน × 25 บาท × 2 มื้อ เป็นเงิน 2,000บาท -ค่าอาหารกลางวัน40 คน × 50 บาท × 1 มื้อ เป็นเงิน 2,000 บาท -ค่าสมนาคุณวิทยากร300 บาท6ชม.1คน เป็นเงิน 1,800บาท รวมเป็นเงิน5,800 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
28 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ประชาชนได้รับการประเมินพฤติกรรมสุขภาพครั้งที่1 ร้อยละ80 2.กลุ่มสงสัยป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงได้รับการส่งต่อพบแพทย์เพื่อรับการรักษาต่อร้อยละ100

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
5800.00

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมที่ 3 กิจกรรม “ รู้ไปต่อ ” ติดตามประเมินผลพฤติกรรมในกลุ่มสมัครใจ

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 3 กิจกรรม “ รู้ไปต่อ ” ติดตามประเมินผลพฤติกรรมในกลุ่มสมัครใจ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรม “ รู้ไปต่อ ” ติดตามผลประเมินภาวะเสี่ยงโรคเรื้อรังในกลุ่มสมัครใจ 3.1ติดตามผลตรวจความดันโลหิตติดตามผลตรวจเบาหวานติดตามน้ำหนัก /BMI ครั้งที่2 3.2ติดตามประเมินผลพฤติกรรมด้านสุขภาพครั้งที่2 3.3 .สรุปผลดำเนินการ งบประมาณ กิจกรรมที่ 3 กิจกรรม “ รู้ไปต่อ ” ติดตามประเมินผลพฤติกรรมในกลุ่มสมัครใจ -ค่าอาหารว่าง/เครื่องดื่ม40คน × 25 บาท × 1 มื้อ เป็นเงิน 1,000บาท รวมเป็นเงิน1,000บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ประชาชนได้รับการประเมินพฤติกรรมสุขภาพครั้งที่2 ร้อยละ80

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 16,400.00 บาท

หมายเหตุ :
รวมทั้งสิ้น 16,400บาท (หนึ่งหมื่นหกพันสี่ร้อยบาทถ้วน)

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และทักษะในการดำเนินงานติดตามวัดความดันโลหิตที่บ้านในกลุ่มสงสัยป่วย
2.กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพตนเอง


>