2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
3. สถานการณ์
1. แก้ไขปัญหา / พัฒนาต่อยอดระบบบริการสุขภาพชุมชนภายใต้กรอบยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข) ยุทธศาสตร์ที่ 1. การส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเป็นเลิศ /แผนงานที่ 1 พัฒนาคุณภาพ ชีวิตคนไทยทุกกลุ่มวัย / โครงการที่ 1 พัฒนาศักยภาพคนไทย / กิจกรรมการพัฒนาอนามัยและสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาวะแม่และเด็ก
2. บริบทของการดำเนินงานสุขภาพอนามัยแม่ และเด็กที่ผ่านมา (หญิงตั้งครรภ์เฉลี่ยปีละ 60 ราย)
- อัตราฝากครรภ์ล่าช้า (เกินกว่า 12 wks) ร้อยละ 06.44
- อัตราเกิดภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ ร้อยละ 10.84
- เด็ก 0 - 5 ปี พัฒนาการไม่สมวัย ร้อยละ 02.41
- เด็ก 0 - 5 ปี สูงดีสมส่วน ร้อยละ 35.83
- ทารกแรกเกิดมีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ ร้อยละ 06.41
- การตั้งครรภ์ไม่พร้อม ร้อยละ 03.54
4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด
- บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
- ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
1. หญิงมีครรภ์ได้ฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 wks และดูแลก่อนคลอดครบตามเกณฑ์ ร้อยละ 100
2. แก้ปัญหาการเกิดภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ ร้อยละ 100
3. เด็ก 0 - 5 ปี มีพัฒนาการและเติบโตสมวัย ร้อยละ 100
4. หญิงมีครรภ์กลุ่มเสี่ยงได้รับอาหารเสริม ( นมสูตรสตรีมีครรภ์และให้นมบุตร ) ร้อยละ 100
5. เด็กแรกคลอดน้ำหนักมากกว่าเกณฑ์มาตรฐานขั้นต่ำ ( 2,500 กรัม) ร้อยละ 100
5. กลุ่มเป้าหมาย
6. ระยะเวลาดำเนินงาน
วันเริ่มต้น 01/03/2025
กำหนดเสร็จ 30/09/2025
7. วิธีการดำเนินงาน
- กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
- งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด
หมายเหตุ :
8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง
ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?1 มารดาและทารกที่มีภาวะเสี่ยงด้านสุขภาพได้รับการแก้ไขปัญหาและดูแลครรภ์ครบตามเกณฑ์มาตรฐาน
2 แก้ปัญหาภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ให้หมดไป
3 ทารกแรกคลอดมีน้ำหนักมากกว่าเกณฑ์มาตรฐานขั้นต่ำ
4 ครอบครัวมีองค์ความรู้ด้านสุขภาพอนามัยทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคมและปัญญา