2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
3. สถานการณ์
สมุนไพรเป็นพืชชนิดหนึ่งที่อยู่คู่กับวิถีชีวิตคนไทยมาเป็นเวลานาน เนื่องจากคนไทยสมัยก่อนมีการพึ่งตนเองด้านการรักษาพยาบาล เมื่อเกิดการเจ็บป่วยขึ้นในชุมชนหรือครอบครัวจึงมีการนำสมุนไพรมาใช้ในการรักษาเบื้องต้น เพื่อบรรเทาอาการเจ็บป่วย โดยอาศัยภูมิปัญญาที่สืบทอดกันมาหลายชั่วอายุ และปัจจุบันประเทศไทยได้มีการสนใจใช้ยาสมุนไพรมากขึ้นและมีแนวโน้มจะหายาก ซึ่งตำบลบานามีความอุดมสมบูรณ์สามารถเป็นแหล่งผลิตปลูกพืชสมุนไพรที่มีความหลากหลาย สามารถเป็นอาหารและยา โดยพัฒนาเป็นอาหารเครื่องดื่มสุขภาพ เครื่องเทศ อาหารเสริม และยาสมุนไพร ซึ่งเป็นทางเลือกหนึ่งการดูแลรักษาและเพื่อสุขภาพของประชาชนจำเป็นต้องส่งเสริมให้มีการปลูกพืชสมุนไพร เพื่อใช้ในการดูแลสุขภาพของประชาชนและเพื่ออนุรักษ์พืชสมุนไพรไว้ใช้ประโยชน์ประกอบกับสามารถนำพืชสมุนไพรมาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ
ในการนี้จึงได้จัดทำโครงการโครงการสุข สดชื่น ด้วยสมุนไพรเพื่อสุขภาพ ขึ้น เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนปลูกพืชสมุนไพรในชุมชนและสามารถนำไปพัฒนาด้านการแพทย์แผนไทย ให้เป็นทางเลือกในการดูแลรักษาสุขภาพที่ดีของประชาชนของชุมชน
4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด
- บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
- ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
5. กลุ่มเป้าหมาย
6. ระยะเวลาดำเนินงาน
วันเริ่มต้น 22/04/2025
กำหนดเสร็จ 22/04/2025
7. วิธีการดำเนินงาน
- กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
- งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด
หมายเหตุ :
8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง
ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?1. ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประโยชน์ของสมุนไพรที่เป็นภูมิปัญญาพื้นบ้านที่สามารถนำมาใช้รักษาโรคได้
2. ประชาชนสามารถนำสมุนไพรไทยมาประยุกต์ใช้กับภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อประโยชน์ในการดูแลสุขภาพ
3. ประชาชนสามารถพึ่งตนเองด้านสุขภาพ ด้านส่งเสริมการใช้สมุนไพรในชีวิตประจำวัน และได้มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พืชสมุนไพร