โครงการสุข สดชื่น ด้วยสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
ชื่อโครงการ | โครงการสุข สดชื่น ด้วยสมุนไพรเพื่อสุขภาพ |
รหัสโครงการ | 68-L3013-02-13 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ประธานชมรม อถล |
วันที่อนุมัติ | 13 มีนาคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 22 เมษายน 2568 - 22 เมษายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 22 พฤษภาคม 2568 |
งบประมาณ | 11,735.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสาวมาสนาห์ เจะสนิ |
พี่เลี้ยงโครงการ | นายอับดุลกอเดร์ การีนา |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลบานา อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 25 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน : |
||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 5 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
สมุนไพรเป็นพืชชนิดหนึ่งที่อยู่คู่กับวิถีชีวิตคนไทยมาเป็นเวลานาน เนื่องจากคนไทยสมัยก่อนมีการพึ่งตนเองด้านการรักษาพยาบาล เมื่อเกิดการเจ็บป่วยขึ้นในชุมชนหรือครอบครัวจึงมีการนำสมุนไพรมาใช้ในการรักษาเบื้องต้น เพื่อบรรเทาอาการเจ็บป่วย โดยอาศัยภูมิปัญญาที่สืบทอดกันมาหลายชั่วอายุ และปัจจุบันประเทศไทยได้มีการสนใจใช้ยาสมุนไพรมากขึ้นและมีแนวโน้มจะหายาก ซึ่งตำบลบานามีความอุดมสมบูรณ์สามารถเป็นแหล่งผลิตปลูกพืชสมุนไพรที่มีความหลากหลาย สามารถเป็นอาหารและยา โดยพัฒนาเป็นอาหารเครื่องดื่มสุขภาพ เครื่องเทศ อาหารเสริม และยาสมุนไพร ซึ่งเป็นทางเลือกหนึ่งการดูแลรักษาและเพื่อสุขภาพของประชาชนจำเป็นต้องส่งเสริมให้มีการปลูกพืชสมุนไพร เพื่อใช้ในการดูแลสุขภาพของประชาชนและเพื่ออนุรักษ์พืชสมุนไพรไว้ใช้ประโยชน์ประกอบกับสามารถนำพืชสมุนไพรมาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ
ในการนี้จึงได้จัดทำโครงการโครงการสุข สดชื่น ด้วยสมุนไพรเพื่อสุขภาพ ขึ้น เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนปลูกพืชสมุนไพรในชุมชนและสามารถนำไปพัฒนาด้านการแพทย์แผนไทย ให้เป็นทางเลือกในการดูแลรักษาสุขภาพที่ดีของประชาชนของชุมชน
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อส่งเสริมการใช้สมุนไพรในครัวเรือน เพื่อบรรเทาอาการเจ็บป่วยเบื้องต้น ร้อยละ 100 ของผู้เข้าร่วมสามารถแปรรูปสมุนไพรเป็นลูกประคบ เพื่อใช้ในการดูแลรักษาสุขภาพเบื้องต้นได้ |
0.00 |
ลำดับ | กิจกรรมหลัก | งบประมาณ | เม.ย. 68 |
---|---|---|---|
1 | อบรมให้ความรู้การแปรรูปสมุนไพรลูกประคบเพื่อสุขภาพ(22 เม.ย. 2568-22 เม.ย. 2568) | 11,735.00 | |
รวม | 11,735.00 |
1 อบรมให้ความรู้การแปรรูปสมุนไพรลูกประคบเพื่อสุขภาพ | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 30 | 11,735.00 | 1 | 11,730.00 | |
22 เม.ย. 68 | อบรมให้ความรู้การแปรรูปสมุนไพรลูกประคบเพื่อสุขภาพ | 30 | 11,735.00 | ✔ | 11,730.00 | |
- ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประโยชน์ของสมุนไพรที่เป็นภูมิปัญญาพื้นบ้านที่สามารถนำมาใช้รักษาโรคได้
- ประชาชนสามารถนำสมุนไพรไทยมาประยุกต์ใช้กับภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อประโยชน์ในการดูแลสุขภาพ
- ประชาชนสามารถพึ่งตนเองด้านสุขภาพ ด้านส่งเสริมการใช้สมุนไพรในชีวิตประจำวัน และได้มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พืชสมุนไพร
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 20 ก.พ. 2568 00:00 น.