กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนารี รหัส กปท. L3341

อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2568 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการ ร่วมมือ ร่วมใจ ป้องกันภัยไข้เลือดออก ในเขตรพ.สต.บ้านป่าบาก ปีงบประมาณ 2568
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
กลุ่มเครือข่ายเฝ้าระวังโรคติดต่อ รพ.สต.บ้านป่าบาก
กลุ่มคน
1.นายสมบัติ ช่อคง
2.นายวิเชียร จงรัตน์
3.นายนิกร บุญยัง
4.นายอิทธิพัทธ์ ทองจันทร์
5.นายจรัล ชนะรัตน์
3.
หลักการและเหตุผล

โรคไข้เลือดออกถือเป็นปัญหาสาธารณสุขที่ต้องเร่งแก้ไขและควบคุมโดยเร็ว ทั้งนี้โรคไข้เลือดออกจะติดต่อจากคนไข้ที่มีเชื้อไข้เลือดออกโดยมียุงลายเป็นพาหะ เมื่อยุงลายไปกัดคนที่มีเชื้อก็จะนำเชื้อไข้เลือดออกไปติดคนอื่นได้โดยไปกัดคนอื่นต่อ และมียุงลายเป็นพาหะนำโรค โดยสาเหตุสำคัญเกิดจากแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายที่ยังพบได้ในบ้านเรือนประชาชนโดยทั่วไป ประชาชนและองค์กรที่เกี่ยวข้อง ยังไม่เห็นความสำคัญของปัญหา และขาดความตระหนักในการร่วมมือกันแก้ไขปัญหาในพื้นที่ รับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านป่าบาก ยังมีรายงานการพบผู้ป่วยไข้เลือดออกทุกปี โดยเฉพาะในปี 2566 พบผู้ป่วยจำนวน 26 ราย อัตราป่วย 783.13 ต่อแสนประชากร ในปี 2567มกราคม – กันยายน พบผู้ป่วยจำนวน 9 ราย อัตราป่วย 271.08 ต่อแสนประชากร ซึ่งเกินเกณฑ์มาตรฐานของกระทรวงสาธารณสุข ประกอบกับรายงานการสำรวจดัชนีลูกน้ำยุงลายในพื้นที่ พบค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายบางหมู่บ้านสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน (ค่า HI>10) ซึ่งการป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออกนั้น สิ่งที่สำคัญที่สุด คือการทำลายแหล่งเพาะลูกน้ำยุงลายทั้งในครัวเรือน บริเวณที่พักอาศัยวิธีที่ประชาชนทั่วไปนิยมใช้ที่สุดคือการใช้สารเคมีในการกำจัดยุง เนื่องจากหาซื้อได้ง่าย ให้ผลรวดเร็วทันใจ แต่การใช้สารเคมีเหล่านี้ หากผู้ใช้ไม่เข้าใจวิธีการใช้ที่ถูกต้องก็อาจเป็นอันตรายแก่ผู้ใช้เอง ซึ่งอาจจะมีผลทำให้เกิดอาการแพ้สารเคมี ผิวหนังอักเสบ รวมทั้งทำให้เกิดอาการหายใจขัดข้อง หรือถ้าอาการรุนแรงมากอาจทำให้เสียชีวิตได้ ปัจจุบันมีการศึกษาวิจัยพบว่า มีสมุนไพรหลายชนิดที่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ในการกำจัดยุงได้แล้วยังช่วยลดการใช้สารเคมีแล้วนั้นการใช้สมุนไพรยังมีความปลอดภัยมากกว่าการใช้สารเคมีอีกด้วยประกอบกับยุงลายสามารถแพร่พันธุ์ได้ตลอดปี ถ้าไม่ดำเนินการควบคุมแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย อย่างต่อเนื่อง สม่ำเสมอและมีประสิทธิภาพ ก็อาจเกิดการระบาดของโรคได้ตลอดเวลา ด้วยเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว กลุ่มเครือข่ายเฝ้าระวังโรคติดต่อ รพ.สต.บ้านป่าบากร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านป่าบากจึงได้จัดทำโครงการ ร่วมมือ ร่วมใจ ป้องกันภัยไข้เลือดออก ในเขตรพ.สต.บ้านป่าบาก ปีงบประมาณ 2568 ขึ้น เพื่อเป็นการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในเขตพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านป่าบาก โดยกำหนดกิจกรรมต่างๆ ที่ทำให้การดำเนินการควบคุมโรคไข้เลือดออกประสบความสำเร็จยั่งยืน

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. 1. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้การป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในพื้นที่
    ตัวชี้วัด : 1. ประชาชนมีความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออกที่ถูกต้อง ร้อยละ 90
    ขนาดปัญหา 40.00 เป้าหมาย 90.00
  • 2. 2.ผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่มีจำนวนลดลง
    ตัวชี้วัด : .ผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่มีจำนวนลดลงร้อยละ 80
    ขนาดปัญหา 40.00 เป้าหมาย 80.00
  • 3. ค่า HICI ในพื้นที่มีจำนวนลดลง
    ตัวชี้วัด : ค่า HI CIในพื้นที่ลดลงร้อยละ 80
    ขนาดปัญหา 60.00 เป้าหมาย 80.00
  • 4. เพื่อนำสมุนไพรมาทำสเปรย์และโลชั่นป้องกันโรคไข้เลือดออก ลดอันตรายจากสารเคมี
    ตัวชี้วัด : ประชาชน สามารถแนะนำการใช้สมุนไพรในการป้องกันยุงลายในครัวเรือนได้ ร้อยละ 70
    ขนาดปัญหา 20.00 เป้าหมาย 70.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. จัดอบรมให้ความรู้โรคไข้เลือดออก
    รายละเอียด
    • จัดอบรมให้ความรู้โรคไข้เลือดออก แก่กลุ่มเป้าหมายตามโครงการ จำนวน 50 คน
    1. ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน 50 คน x 25 บาท x 1 มื้อ เป็นเงิน 1,250 บาท
    2. ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 50 คน x 50 บาท x 1 มื้อ เป็นเงิน 2,500 บาท
    3. ค่าวิทยากร จำนวน 2 ชม.ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท
    4. ค่าป้ายโครงการ 1 ป้าย ขนาด 2 เมตร x 3 เมตร เป็นเงิน 600 บาท
    5. ค่าถ่ายเอกสารประกอบการฝึกอบรม จำนวน 50 ชุด ๆ ละ 10 บาท เป็นเงิน 500 บาท

    (สามารถถัวเฉลี่ยกันได้ทุกรายการ

    งบประมาณ 6,050.00 บาท
  • 2. ออกสุ่มตรวจลูกน้ำยุงลาย ในพื้นที่
    รายละเอียด
    • ออกสุ่มตรวจลูกน้ำยุงลาย โดยเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านป่าบาก และ ผู้เข้าร่วมโครงการสลับกันตรวจแต่ละหมู่บ้าน -ค่าน้ำดื่มในการออกสุ่มตรวจพร้อมกำจัดลูกน้ำยุงลาย เป็นเงิน 500 บาท
    งบประมาณ 500.00 บาท
  • 3. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ถอดบทเรียน เกี่ยวกับการออกสำรวจลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้าน
    รายละเอียด

    จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ถอดบทเรียน เกี่ยวกับการออกสำรวจลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้าน 1. ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน 50 คน x 25 บาท x 1 มื้อ เป็นเงิน 1,250 บาท

    งบประมาณ 1,250.00 บาท
  • 4. สอนการทำสเปรย์กันยุง แก่ผู้เข้าร่วมโครงการ
    รายละเอียด

    สอนการทำสเปรย์กันยุง แก่ผู้เข้าร่วมโครงการ 1. ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน 50 คน x 25 บาท x 1 มื้อ เป็นเงิน 1,250 บาท
    2. ค่าวิทยากร จำนวน 2 ชม.ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท
    3. ค่าวัสดุในการจัดทำสเปรย์กันยุงและ ธูปไล่ยุง ฯลฯ เป็นเงิน 4,500 บาท *สามารถถัวเฉลี่ย

    งบประมาณ 6,950.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 เมษายน 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568

8.
สถานที่ดำเนินการ

หมู่ที่ 2 ,6, 9 ตำบลทุ่งนารี อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 14,750.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  1. ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออกที่ถูกต้อง ร้อยละ100 2.ผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่มีจำนวนลดลง ร้อยละ80 3.ค่า HICI ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน 4.ประชาชน สามารถแนะนำการใช้สมุนไพรในการป้องกันยุงลายภายในครัวเรือนได้ ร้อยละ 70
11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนารี รหัส กปท. L3341

อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2568
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนารี
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนารี รหัส กปท. L3341

อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 14,750.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................